Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6912
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรมth_TH
dc.contributor.authorนลินธร เชื้อเมืองพาน, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T06:51:00Z-
dc.date.available2023-06-29T06:51:00Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifierวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6912en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ (2) การปฏิบัติกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจในแต่ละด้านและ (3) เปรียบเทียบการปฏิบัติกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในแต่ละด้านขององค์กรจาแนกตามลักษณะขององค์กรธุรกิจ ประชากรคือ องค์กรธุรกิจที่ตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 877 บริษัท โดยหลักการคำนวณโดยใช้สูตร ของ ทาโรยามาเน ได้ขนาดตัวอย่าง จำนวน 274 บริษัท เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือสถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจด้านการกากับดูแลองค์กร ด้านสิทธิมนุษยชนด้านการปฏิบัติด้านแรงงานด้านการปฏิบัติ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการดำเนินงานอย่างเป็นธรรม ด้านผู้บริโภค ด้านการพัฒนาชุมชนและสังคมอยู่ในระดับมาก (2) การปฏิบัติกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจใน ด้านการพัฒนาชุมชน ด้านสุขภาพอนามัย ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสิทธิผู้บริโภค ด้านวัฒนธรรม อยู่ในระดับมาก สำหรับด้านการศึกษา อยู่ในระดับปานกลาง และ (3) เปรียบเทียบการปฏิบัติกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในแต่ละด้านขององค์กร จำแนกตามลักษณะองค์กรธุรกิจ ในด้านระยะเวลาการก่อตั้งสถานประกอบการที่แตกต่างกันกับกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมด้านพัฒนาชุมชน ด้านสุขภาพอนามัย ด้านการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสิทธิผู้บริโภค ด้านวัฒนธรรม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ยกเว้นด้านพัฒนาชุมชน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ สำหรับขนาด อุตสาหกรรมที่แตกต่างกันกับกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านพัฒนาชุมชน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ .05 ด้านสุขภาพอนามัย ด้านการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสิทธิผู้บริโภค ด้านวัฒนธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และประเภทอุตสาหกรรมที่แตกต่างกันกับกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมด้านพัฒนาชุมชน ด้านสุขอนามัยแตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.158en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.titleความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeSocial responsibility of business organization in Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.158-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.158en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativePurposes of survey research: (1) to study policy of corporate social responsibility (CSR) of business organization; (2) to study the activities of CSR of business organizations by aspect; and (3) to compare CSR activities in each organization aspect by organizational business type. Population was 877 business organizations located in Phatumthanee province using the Standard Deviation formula of Taro Yamane , the sample were 274 companies. Questionnaire use was a tool , Descriptive statistics used were average , percentage , standard deviation and inferential statistics were one- way ANOVA. Research result were found that: (1) these were high opinions in policy of CSR, corporate governance , human rights , labor practice , environmental practice, fairly operation, care consumers and social justice & community development; (2) these were high opinions in CSR activities , community development, health, environment, consumer rights, culture and moderate opinion in education; and (3) comparing CSR activities in each organizational aspect by organizational business type, different corporate establishment time and CSR activities in terms of community development and culture had “no significant difference”. except for community development .Morever,comparing the size difference of business with the CSR activities , community development had “ significant difference ”at the significant level of 0.05 Health, education, environment, human rights and culture had “no significant difference”. Comparing the business type’s difference with the CSR activities, community development and health had “significant difference”.en_US
dc.contributor.coadvisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137371.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons