Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชลธิชา บุญรอด, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T02:25:48Z-
dc.date.available2023-06-30T02:25:48Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6944-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมในการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อการเกษียณอายุของพนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อการเกษียณอายุ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางการเงิน ปัจจัยด้านทัศนคติ และปัจจัยด้านเศรษฐกิจ กับพฤติกรรมในการวางแผนการเงิน เพื่อการเกษียณอายุ และ (4) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อการเกษียณอายุ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานคร ใช้จำนวนตัวอย่าง 400 คน จากจำนวนประชากรทั้งหมด 19,131 คน ใช้สูตรของทาโร ยามาแน่ ในการกำหนดจำนวนกลุ่ม ตัวอย่าง สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว การทดสอบค่าไค-สแควร์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เลือกรูปแบบการฝากเงินกับธนาคารหรือ สถาบันการเงิน มีการออมและลงทุนทุกเดือน มีการเลือกระยะเวลาของการออมและการลงทุนเป็น ระยะปานกลาง (1 - 10ปี) (2) กลุ่มตัวอย่างที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน โดยส่วนใหญ่พนักงานที่มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนน้อยจะเลือกรูปแบบการออมโดยซื้อกรมธรรม์ ประกันชีวิต และมีการออมและลงทุนในสัดส่วนที่มาก มีความถี่ในการออมและการลงทุนสูง เลือกการออมและการลงทุนที่ระยะสั้น (3)ปัจจัยส่วนบุคคลปัจจัยทางการเงินปัจจัยด้านทัศนคติและปัจจัย ด้านเศรษฐกิจ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อการเกษียณอายุ โดยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์มากที่สุดคือ การยอมรับความเสี่ยง รองลงมาคือ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือน อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง และประสบการณ์ และ (4) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางการเงิน ปัจจัยด้าน ทัศนคติ และปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อการเกษียณอายุ โดยค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนเป็นปัจจัยที่มีผลมากที่สุด แต่ถ้าพิจารณาขนาดของค่าสัมประสิทธพบว่า ปัจจัยที่มีผลมากที่สุด คือ ประสบการณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectตัวแทนประกันชีวิต--การเงินส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อการเกษียณอายุของพนักงานบริษัทประกันชีวิตในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting personal financial planning for retirement of life insurance companies employees in Bangkok Metropolitanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were to: (1) study personal financial planning behavior for retirement of employees of life insurance companies in Bangkok Metropolis; (2) compare personal financial planning behavior for retirement; (3) study the relationship between the personal factors, the financial factors, the attitude factors, the economic factors and personal financial planning behavior for retirement; and (4) study factors affecting personal financial planning for retirement of employees of life insurance companies in Bangkok Metropolis. This study was a survey research using a questionnaire as a tool for data collection. The population was 19,131 employees of life insurance companies in Bangkok Metropolis. The sample size for this study was calculated by Taro Yamane Method were 400 samples. The statistical data analysis included frequency, percentage, t-Test, One-Way ANOVA, chi-square test, and multiple regressions. The results showed that: (1) the most respondents chose savings and investment patterns as deposits with banks or financial institutions for every month. The term of saving and investment was medium term (1-10 years). (2) The respondents with different personal factors had different behaviors. The employees who had low average monthly expenses chose savings patterns as life insurance policy, savings and investment in a large proportion, high frequency and chose a short-term savings and investment. (3) Personal factors, financial factors, attitude factor and economic factors had relationship with behaviors of personal financial planning for retirement. Risk acceptance was the most factor correlated to the personal financial planning for retirement, followed by average monthly expenses, yield rate and experiences. (4) Personal factors, financial factors, attitude factor and economic factors were factors that affected the personal financial planning for retirement. The average monthly expense was the most factor affecting personal financial planning for retirement. However, considering the size of the coefficient, it was found that experience was the most factor affecting the personal financial planning for retirement.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158685.pdfเอกสารฉบับเต็ม28.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons