Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวิรัตน์ หวังผล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T02:39:50Z-
dc.date.available2023-06-30T02:39:50Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6948-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมืองอำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ 2) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการบริหาร กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมึองอำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ วิธีการดำเนินการวิจัย เป็นการศึกษาแบบเชิงสหสัมพันธ์ ประชากรที่ใชัในการวิจัยเป็น คณะกรรมการและสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมึองอำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ที่ผ่านเกณฑ์การ ประเมินมาตรฐานดีเยี่ยม (AAA) จำนวน 6 กองทุน รวม 770 คน กลุ่มตัวอย่างใชักลุ่มตัวอย่าง 264 คน ใด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใชัใด้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ รัอยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยพทุคูณ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ระดับการศึกษาอาชีพ รายได้ และประสบการณ์ การเป็นสมาชิกกองทุน มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมีอง อย่างมีนัขสำคัญ ทางสถิติระดับ 0.01 และปัจจัยด้านความพร้อมของชุมชน ปัจจัยด้านระบบงาน และปัจจัยด้านการ สนับสนุนและดูแลจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมีอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 และสามารถร่วมกันอธิบายความสำเร็จในการบริหารกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองได้ร้อยละ 97.1 สำหรับปัจจัยด้านระบบงาน มีความสัมพันธ์ตรงข้ามกับความสำเร็จใน การบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (2) ด้านปัญหาพบว่าคณะกรรมการกองทุนขาดความรู้ ความสามารถในการบริหารกองทุน ขาดการตรวจติดตามประเมินผลและ การให้ความรู้ข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้นำกองทุนไม่มีความเป็นธรรม ไม่โปร่งใส เห็นแก่พวกพ้อง และเงินกองทุนมีไม่เพียงพอด่อความต้องการของประชาชน ข้อเสนอแนะ จัดฝึกอบรม ให้ความรู้แก่ คณะกรรมการและสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน จัดส่งเอกสาร วารสาร สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับการ บริหารกองทุนหมู่บ้านเป็นประจำ จัดอบรมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่หมู่บ้านและชุมชน เลือก คณะกรรมการกองทุนที่เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และเพิ่มเงินกองทุนให้เพียงพอกับความต้องการ ของหมู่บ้านและชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.50-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง--ไทย--สุรินทร์th_TH
dc.subjectกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง--การบริหาร.--ไทยth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the success of Village and Urban Community Fund, Rattanaburi District, Surin Pravinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.50-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research objectives were to 1) study factors affecting the success of Village and Urban Community Fund . Rattanaburi District, Surin Province. 2) study problems and propuse recommendations in the management of village and urban Fund, Rattanaburi District. Surin Province. This study was correlational research . Population comprised of 770 members and committees of 6 Village and Urban Community Funds . Rattanaburi District, Surin Province, which had passed excellent criteria evaluation standard evaluation (AAA). 264 samples were randomized via stratification sampling method. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, multiple regression equation, and content analysis. The research results revealed that (1) personal factors which were education, occupation, salary, and experience affected the success of Village and Urban Community Fund , Rattanaburi District, Surin with 0.01 level of significance. Communities’ readiness, work system, and government support factors, affected the success of Village and Urban Community Fund , Rattanaburi District, Surin with 0.05 level of significance: both types of factors could explain the success of Village and Urban Community Fund. Rattanaburi District. Surin at 97.1 percent. Work system factor was found to be in negative relations with the success of Village and Urban Community Fund (2) problems found were lack of knowledge and ability of the committees in fund management, no monitoring and follow up, and also no information provision from government officials, the unfair leaders, who were engaged in patronage system, the insufficient amount of fund to respond to the people’s needs. Recommendations were the government should provide training to the fund’s committees and members, handouts on information involved should be distributed, training on moral and ethics should also be arranged in the communities so consequently ethical representatives would be selected. More importantly, there should be an increase in the fund amount to respond to the needs of the people in the communitiesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114861.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons