Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/699
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สำรวย กมลายุตต์ | th_TH |
dc.contributor.author | คมสันต์ อินทร์รุ่ง, 2503- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-18T02:04:32Z | - |
dc.date.available | 2022-08-18T02:04:32Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/699 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินการใช้ระบบสารสนเทศบนเครือข่ายอินทราเน็ตของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา “กฤษฏีกา ออฟฟิศ" และ (2) สร้างต้นแบบระบบสารสนเทศ “กฤษฎีกา ออฟฟิศ" กลุ่มประชากร ได้แก่ บุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการกฎษฏีกา จำนวน 313 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ได้รับแบบสอบถามคืน จำนวน 279 ฉบับ (87.33%) จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จสำหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ และนำเสนอด้วยค่าการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือในการพัฒนาต้นแบบระบบ “กฤษฏีกา ออฟฟิศ” ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นของบุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา ที่มีต่อระบบสารสนเทศบนเครือข่ายอินทราเน็ต "กฤษฏีกา ออฟฟิศ" โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากและที่อยู่ในระดับมาก 3 อันดับแรก ได้แก่ การช่วยให้ผู้ใช้จำได้และสามารถวินิจฉัยรวมทั้งฟื้นสภาพจากข้อผิดพลาดได้ การป้องกันข้อผิดพลาด ความชัดเจนของสถานะระบบ ส่วนความคิดเห็นที่มีต่อโฮมเพจของการใช้ระบบสารสนเทศบนเครึอข่าอินทราเน็ต โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และที่อยู่ในระดับมาก 3 อันดับแรก ได้แก่ การออกแบบโฮมเพจมีความเป็นระเบียบ สื่อความหมายให้ใช้งานได้ง่าย และมีความสวยงาม รายการในเมนูหลักที่ใช้บ่อยที่สุดได้แก่ ระบบย่อยข้อมูลเข้า นอกจากนั้นบุคลากรมีข้อเสนอให้ เพิ่มเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลและปุ่มช่วยเหลือ พร้อมทั้งปรับปรุงโฮมเพจให้สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก ต้นแบบระบบสารสนเทศ "กฤษฎีกา ออฟฟิศ" ที่สร้างขึ้นใหม่มาจากผลการประเมินการใช้ระบบสารสนเทศและความคิดเห็นของบุคลากร โดยระบบดังกล่าวมีลักษณะสำคัญที่แตกต่างไปจากระบบเดิม คือ ผู้ใช้สามารถสร้างในส่วนของหน้าโฮมเพจได้ตามความต้องการเฉพาะของบุคคล โดยสามารถปรับวางตำแหน่งสัญรูปที่ใช้แทนเมนูรายการต่าง ๆ เพื่อให้สะดวกและง่ายต่อผู้ใช้ในการทำงาน พร้อมทั้งนี้ได้เพิ่มเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลและปุ่มช่วยเหลือในทุกระบบงานย่อย ปรับตำแหน่งรายการย่อยในหน้าเว็บเพจแต่ละหน้า ในรายการย่อยให้เป็นมาตรฐานเดียวกันรวมทั้งปรับสีและโทนสีให้เป็นเฉดสีเดียวกันด้วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศ--การประเมิน | th_TH |
dc.title | การประเมินการใช้ระบบสารสนเทศบนเครือข่ายอินทราเน็ต : กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of an intranet-based information system use : a case of the Office of the Council of State | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This was a developed study aiming at (1) evaluate information system usage, “Krisdika Office" on intranet network of the Office of the Council of State and (2) develop to be a prototype. The population consisted of 313 persons at the Office of the Council of State. The instruments were questionnaire and interview. 279 questionnaires (87.33%) were returned. Then data were analyzed and presented by frequency, percentage, mean, and standard deviation and computer software was used to develop that prototype. The results revealed that the opinions by personnel at the Office of the Council of Slate on information system, “Krisdika Office", on intranet network were at a high level as a whole. When considered each aspects, it was found that they were at a high level. However, the first- three ones included that helping for user remembrance and analysis including error recovery, protecting any errors, and clearance of system status. Those of opinion on homepage design were at a high level as a whole and the first- three ones included that the design was neat, easy to use, and beautiful. The frequently menu used was input- subsystem. Nevertheless, they suggested to add searching tool and help button and to improve homepage to be easily accessed as well. This prototype of “Krisdika Office" as developed through the results of usage evaluation and opinion by those personnel is different attribute from the initial one, such as, users can create their individual pattern of homepage as needed by adapting the icon position representing the menu in order to easily work with it, including adding searching tool and help button in every sub - system and adjusting webpage position in sub-menu as to standardization by changing color and tone as to be the same span. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จีราภรณ์ สุธัมมสภา | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License