Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7000
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมศักดิ์ พัดแดง, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T07:06:29Z-
dc.date.available2023-06-30T07:06:29Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7000-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความต้องการในการพัฒนาตนเองของบุคลากรในเรือนจำจังหวัดนราธิวาส (2) เปรียบเทียบความต้องการในการพัฒนาตนเองของบุคลากรในเรือนจำจังหวัดนราธิวาส จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาตนเองของบุคลากรในเรือนจำจังหวัดนราธิวาส ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรในเรือนจำจังหวัดนราธิวาส จำนวน 69 คน โดยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นผู้ให้ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เปรียบเทียบความ แตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความต้องการในการพัฒนาตนเองของบุคลากรในเรือนจำจังหวัดนราธิวาส โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการสอนงาน ด้านการเป็นพี่เลี้ยง (2) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการในการพัฒนาตนเองจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงาน เงินเดือน/ค่าจ้าง/ค่าตอบแทน และระดับ การดำรงตำแหน่งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านสถานะของการทำงานปัจจุบันมีความต้องการในการพัฒนาตนเองโดยภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) แนวทางในการพัฒนาตนเองของบุคลากรในเรือนจำจังหวัดนราธิวาส พบว่าด้านการศึกษา ควรสนับสนุนบุคลากรได้ศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ด้านการฝึกอบรมควรเป็นหลักสูตรที่ตรงกับการปฏิบัติงานจริงอย่างต่อเนื่อง ด้านการเป็นพี่เลี้ยง ควรมีพี่เลี้ยงที่เป็นตัวอย่างที่ดีและสามารถถ่ายทอดความรู้ได้ ด้านการศึกษาดูงาน ควรสนับสนุนการศึกษาดูงานที่ก่อให้เกิด ประโยชน์และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการทำงานได้จริง ด้านการสอนงาน ควรจัดทีมเพื่อสอนงานให้มากที่สุด ด้านการเรียนรู้ด้วยตนเอง ควรเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ที่ทันสมัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเรือนจำจังหวัดนราธิวาสth_TH
dc.subjectเรือนจำ--การพัฒนาบุคลากรth_TH
dc.subjectเรือนจำ--ข้าราชการและพนักงานth_TH
dc.titleความต้องการในการพัฒนาตนเองของบุคลากรในเรือนจำจังหวัดนราธิวาสth_TH
dc.title.alternativeNeeds for self-development of personnel of Prisons in Narathiwat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeรัฐประศาสนศาสมหาบัณฑิตth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to: (1) study needs for self-development of personnel of Prisons in Narathiwat Province; (2) compare needs for self-development of personnel of Prisons in Narathiwat Province; and (3) recommend approaches for self-development of personnel of Prisons in Narathiwat Province. The population was 69 personnel of prisons in Narathiwat Province and the entire population was key informants. Research tool was a questionnaire. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation. Comparative analysis of the difference between two groups mean, and multiple comparison test used Scheffe' method. The results revealed that: (1) an overview image of level of needs for selfdevelopment of personnel of the prisons in Narathiwat Prison was at high level. When considering each aspect, it was found that training was at the highest level, followed by coaching, mentoring; (2) the comparison of the differences in the needs for self-development classified by personal factors, it was found that gender, age, marital status, education, duration of working, salary, allowance, and degree of tenure, there was no. Exception went to the current status of work that the personnel in the overall need for self-improvement differently. There were statistically significant differences with statistically significance at the level of .05; and (3) self-development approaches of personnel in prisons in Narathiwat Province, it showed that training should be consistent with the course of the actual work. The mentor should be good mentor, good and could be transfer knowledge that was beneficial and applied to work. Mentoring should build the teamwork for teaching as much as possible. Self-learning, the organization should add a modern learning channelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltex_152450.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons