Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/701
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กมลชัย รัตนสกาววงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สมชาย เจริญกิจ, 2510- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-18T02:18:27Z | - |
dc.date.available | 2022-08-18T02:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/701 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับวุฒิสภาทั้งที่เป็นอำนาจหน้าที่ ของวุฒิสภาและที่มาของสมาชิกวุฒิสภาที่ได้บัญญัติหรือปรากฏในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย หนังสือ ตําราและเอกสารที่เกี่ยวข้องต่่าง ๆ ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ (2) เพื่อวิเคราะห์ความชอบธรรม เกี่ยวกับที่มาของสมาชิกวุฒิสภาโดยเฉพาะอย่างยิ่งสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหาตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และ (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับที่มาของสมาชิกวุฒิสภาให้มีความชอบธรรมตามบทบาทและอำนาจหน้าที่ ที่พึงประสงค์อันพึงบัญญัติไว้ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยทางเอกสารโดยการค้นคว้าและรวบรวมหนังสือ ตํารา เอกสาร รัฐธรรมนูญบทความทางวิชาการที่เกี่ยวกับวุฒิสภา ทั้งในส่วนอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภา และที่มาของสมาชิกวุฒิสภาของประเทศไทยและต่างประเทศได้แก่ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และอินเดีย ผลการวิจัยพบว่าวิธีการได้มาซึ่งวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกราช 2550 ยังคงมีความชอบธรรมกับสถานการณ์ ของประเทศไทยในปัจจุบัน เพราะสมาชิกส่วนที่ มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนย่อมมีความชอบธรรมตามหลักประชาธิปไตย ส่วนสมาชิกที่มาจากการสรรหาสามารถแก้ปัญหาเรื่องความไม่เป็นกลางของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมดได้ แต่ควรแก่เรื่องคณะกรรมการสรรหา โดยให้ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรสาขาอาชีพตามภาคต่าง ๆ เป็นผู้คัดเลือกผู้ที่สมควรเป็นสมาชิกวุฒิสภากันเอง แล้วเสนอให ้วุฒิสภาคัดเลือกและให้ความเห็นชอบให้ เหลือจำนวนที่แท้จริงในขั้นตอนสุดท้าย ซึ่งวิธีการนี้มีความชอบธรรมตามหลักประชาธิปไตยเพราะได้ สมาชิกวุฒิสภาที่เป็นตัวแทนที่ แท้จริงของสาขาอาชีพภาคนั้น ๆ ที่มีความยึดโยงกับกลุ่มสาขาอาชีพและประชาชน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.52 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วุฒิสภา--การสรรหาบุคลากร | th_TH |
dc.title | ความชอบธรรมของการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 | th_TH |
dc.title.alternative | Legitimacy of the selection of senators under the constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.52 | en_US |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.52 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to: (1) investigate the constitutional theories of the Senate, both authorities and sources as written in the Constitutions, law, books, textbooks, and related documents found in Thailand and other countries; (2) analyze the legitimacy of sources of senators, particularly to the selection process of recruited senators under the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550; and (3) provide suggestions for setting up criteria about senator sources for legitimacy in accordance with expected roles and authorities which should be written in the Constitution of the Kingdom of Thailand. The study was conducted through qualitative research by means of documentary research from books, textbooks, Constitutions, documents and academic articles related to the Senate in both authority and source aspects found in Thailand and other countries namely France, Belgium, and India. The findings showed that the forming of the Senate still held legitimacy conforming to Thailand’s current contexts because the senators directly elected by people held legitimacy according to the democratic principles. While the ones recruited could totally solve the problems of lacking neutrality of the senators entering the House by direct election. However, the forming of the recruitment committee should be amended by allowing the nominees from different organizations of occupation sectors to select their representatives among themselves before sending up to the Senate to finally pick out the desirable number of senators. This method serves democratic legitimacy as the senators are genuine representatives that are connected by all the occupation sectors and people. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สิริพันธ์ พลรบ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib128407.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License