Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7176
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นราธิป ศรีราม | th_TH |
dc.contributor.author | นัยนา ปานศาสตรา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-04T02:35:54Z | - |
dc.date.available | 2023-07-04T02:35:54Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7176 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (2) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น และ (4) แสวงหาแนวทางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลบางนมโค เทศบาลตำบลหัวเวียง เทศบาลตำบลสามกอ และเทศบาลตำบลเจ้าเจ็ด อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความถี่ และไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นได้แก่ ปัจจัยด้านความรู้ ความเข้าใจ ปัจจัยด้านความคิดเห็น ปัจจัยด้านแรงจูงใจภายใน ปัจจัยด้าน ข้อมูลข่าวสาร ปัจจัยด้านความสะดวก และปัจจัยด้านแรงจูงใจภายนอก (3) ปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นที่สำคัญ คือ การที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (4) แนวทางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนที่สำคัญคือการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | เทศบาล--การบริหาร.--ไทย--พระนครศรีอยุธยา | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น : กรณ๊ศึกษาเทศบาลตำบลในเขตอำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา | th_TH |
dc.title.alternative | Popular participation in local development planning : a case study of Subdistrict Municipalities in Sena District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to (1) determine the level of popular participation in local development planning, (2) examine the factors correlated to popular participation in local development planning, (3) study problems and obstacles to popular participation in local development planning, and (4) search for appropriate approaches to improve popular participation in local development planning. The sample were group consisted of 400 electors in Bang Nom Kho, Hua Wiang, Sam Ko and Chao Chet Subdistrict Municipalities. The research instrument used was a questionaire. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, frequency and chi’ square. The study revealed that (1) popular participation in local development planning were at moderate level. (2) Factors correlated to popular participation in local development planning were knowledge, opinion, internal motivation, information, convenience and external motivation. (3) The most important problem and obstacle to popular participation in local development planning was the lack of knowledge of local development planning. (4) The recommended approach to improve the popular participation in local development planning was to develop people’s knowledge and understanding. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รสคนธ์ รัตนเสริมพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
114880.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License