Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7240
Title: ผลการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคจิกซอว์เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคนิคระยอง
Other Titles: The effect of cooperative learning with the jigsaw technique on the topic of the relationship of Thai economy and world economy for the first year vocational certificate students at Rayong Technical College
Authors: สุมนทิพย์ บุญสมบัติ, อาจารย์ที่ปรึกษา
ประไพ ชิตรัฐถา, 2502-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณี
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ--การศึกษาและการสอน
นโยบายเศรษฐกิจ--ไทย
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Issue Date: 2546
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 ก่อนและหลังการเรียนแบบร่วมมือโดยไร้เทคนิคจิกซอร์ และ (2) ศึกษาทักษะการทำงานร่วมกันของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 ที่เรียนโดยการ เรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคจิกซอว์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคนิคระยอง ภาพเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546 จำนวน 35 คน ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคนิกซอร์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน แบบประเมินทักษะการทำงานร่วมกัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้ เทคนิคจิกซอว์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนที่เรียน โดยการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคจิกซอว์มีการพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกันในระดับสูงขึ้น
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7240
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_82575.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons