Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7317
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีธนา บุญญเศรษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | อังศวีร์ ศรีโกมลภัสร์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-05T06:41:41Z | - |
dc.date.available | 2023-07-05T06:41:41Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7317 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคู่มือการจัดตั้งเขตปลอดอากรของอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก สำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออกที่สนใจจัดตั้งเขตปลอดอากร การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการพัฒนาคู่มือการจัดตั้งเขตปลอดอากรของอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก ซึ่งมีขั้นตอนการพัฒนา 5 ขั้นตอน คือ 1) การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ 2) การสังเคราะห์ 3) การจัดทำร่างคู่มือการจัดตั้งเขตปลอดอากรของอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก 4) การนำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาร่างคู่มือ และ 5)การปรับปรุงแก้ไขและจัดพิมพ์ต้นฉบับคู่มือการจัดตั้งเขตปลอดอากรของอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก ผลการศึกษาพบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่าร่างคู่มือการจัดตั้งเขตปลอคอากรของอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออกมีความเหมาะสมในภาพรวมในระดับมากและควรปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ดังนั้นคู่มือการจัดตั้งเขตปลอดอากรของอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออกที่ปรับปรุงแล้ว โดยแบ่งออกเป็น 8 บท ได้แก่ 1) บทนำ 2) คุณสมบัติและกิจการของผู้ขอจัดตั้งเขตปลอดอากร 3) หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดตั้งเขตปลอดอากร 4) การยื่นขอจัดตั้งเขตปลอดอากร 5) การประกอบกิจการในเขตปลอดอากร 6) สิทธิประโยชน์ในเขตปลอดอากร 7) พิธีการศุลกกรเกี่ยวกับการม์ของชั้นและการน์เของออกจากขศปลอดคยาทร และ ๕) การสกาพผู้ จัดตั้งเขตปลอดอากรและการยกเลิกการจัดตั้งเขตปลอดอากร จึงมีความเหมาะสมต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก ที่จะนำไปใช้เป็นข้อมูลในการจัดตั้งเขตปลอดอากรเพื่อลดต้นทุนการดำเนินงานและเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันในการส่งออกต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เขตปลอดอากร | th_TH |
dc.subject | การค้าเสรี | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมการส่งออก | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาคู่มือการจัดตั้งเขตปลอดอากรของอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก | th_TH |
dc.title.alternative | Development of free zone established manual for export manufacturing industry | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_127234.pdf | 4.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License