Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ปิ่นทุพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorคนองยุทธ กาญจนกูล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัชดา บุษปะนันทน์, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T06:43:05Z-
dc.date.available2022-08-18T06:43:05Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/735-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแบบแผนการดำเนินงานศูนย์สุขภาพชุมชนที่พึงประสงค์ตามความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุขในจังหวัดลำปาง ทำการศึกษากับกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชน ในเขตจังหวัดลำปาง จำนวน 200 คน โดยการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุข เกี่ยวกับองค์ประกอบในการพัฒนางานศูนย์สุขภาพชุมชนนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน และแบบแผนการดำเนินงานศูนย์สุขภาพชุมชน แบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการพรรณนา ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์เพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรสาธารณสุขมีความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบในการพัฒนางานศูนย์สุขภาพชุมชนอยู่ในระดับที่เห็นด้วยมาก นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอยู่ในระดับที่เห็นด้วยปานกลางค่อนไปทางมาก และเกี่ยวกับเกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชนอยู่ในระดับที่เห็นด้วยปานกลาง (2) บุคลากรสาธารณสุขมีความคิดเห็นเกี่ยวกับแบบแผนการดำเนินงานศูนย์สุขภาพชุมชนอยู่ในระดับที่เห็นด้วยมาก (3) ความคิดเห็นของบุคลากรสาธารสุขเกี่ยวกับแบบแผนการดำเนินงานศูนย์สุขภาพชุมชนมีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบในการพัฒนางานศูนย์สุขภาพชุมชน นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และเกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน ไปในทิศทางบวก ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.283-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข--ทัศนคติth_TH
dc.subjectศูนย์สุขภาพชุมชน--ไทย--ลำปางth_TH
dc.titleความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุขเกี่ยวกับแบบแผนการดำเนินงานศูนย์สุขภาพชุมชนในจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeOpinions of public health personnel about the operational pattern of primary health care unit in Lampang provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.283-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this survey research was to identify the desired operational pattern of primary health care unit in Lampang province of public health personnel. A total of 200 public health personnel (PHP) who were working in primary health care unit (PCU) were simple randomized to include in the study, the questionnaires were mailed to the samples to elicit their opinions about the factors contributing to the development of PCU, the universal coverage policy, the standard criteria of PCU, and the operational pattern of PCU. The reliability test of the questionnaire was 0.96. Data were analysed by percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The findings were (1) the PHP had much favorable opinions about the factors contributing to the development of PCU, had rather much favorable opinions about the Universal Coverage Policy, and had moderate favorable opinions about the standard criteria of PCU; (2) the PHP had much favorable opinions about the operational pattern of PCU; (3) the opinions of the PHP about the operational pattern of PCU correlate positively to a moderate extent พith the factors contributing to the development of PCU, the universal coverage policy, and the standard criteria of PCU, with statistical significance of 0.05en_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82157.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons