Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7445
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth_TH
dc.contributor.authorจิร รัตนชินชัยth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T03:41:14Z-
dc.date.available2023-07-07T03:41:14Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7445en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรของกรมบัญชีกลางในส่วนกลาง 2) ศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัย ด้านวัฒนธรรมองค์กรและปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรของกรมบัญชีกลางในส่วนกลาง 3) เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรของกรมบัญชีกลางในส่วนกลาง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาปัจจัยแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรของ กรมบัญชีกลางในส่วนกลาง 5) ศึกษาปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของบุคลากรของกรมบัญชีกลางในส่วนกลาง การศึกษาครั้งนี้จะใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ประชากรที่ใชีในการศึกษาครั้งนี้ คือ ช้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานจ้าง และลูกจ้างชั่วคราว ที่ทำงานในสังกัดกรมบัญชีกลางในพื้นที่ ส่วนกลางทั้งหมดมีจำนวนทั้งสิ้น 1220 คน และกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ได้ ขนาดกลุ่มตัวอย่างการศึกษาครั้งนี้จำนวน 301 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถาม โดยสถิติที่ใชีในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลของประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรในกรมบัญชีกลาง ในพื้นที่ส่วนกลาง อยู่ในระดับประสิทธิภาพมาก โดยผลค่าเฉลี่ยที่มากที่สุด คือ ด้านเวลา 2) ผลของระดับ แรงจูงใจและปัจจัยด้านค้ำจุนอยู่ในค่าระดับประสิทธิภาพมาก โดยผลค่าเฉลี่ยที่มากที่สุด คือ ด้านความสำเร็จในงานของบุคคล 3) ผลของระดับประสิทธิภาพของปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กร พบว่าอยู่ ในค่า ระดับประสิทธิภาพมาก โดยผลค่าเฉลี่ยที่มากที่สุด คือ วัฒนธรรมแบบเน้นความสำเร็จโครงสร้าง และกฏระเบียบ 4) ผลของการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร เมื่อจำแนกออกตาม คุณลักษณะส่วนบุคคล พบว่าบุคลากรที่มีความแตกต่างกันด้านอายุ และสถานภาพมีประสิทธิภาพการ ทำงานที่ในผลรวมแตกต่างกัน นั้นคือในกลุ่มของช่วงอายุที่ต่ากว่า 30 ปี และ อายุ 30 - 40 ปี มีประสิทธิภาพ การทำงานโดยรวมที่น้อยกว่าบุคลากรในช่วงอายุ 41 - 50 ปี และ 51 ปีขึ้นไป และสถานภาพโสด มีประสิทธิภาพการทำงานที่น้อยกว่า 5) การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร ที่ความคลาดเคลื่อนที่ร้อยละ 5 พบว่า ปัจจัยด้านจูงใจ ปัจจัยด้านค้ำจุน และปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กร จะส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกรมบัญชีกลางth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.--แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงาน--ข้าราชการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในกรมบัญชีกลางในส่วนกลางth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting performance efficiency of personnel of the Comptroller General Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: 1) to study the level of opinions on the efficiency in the performance of the personnel of the Comptroller General's Department; 2) to study the level of opinions on organizational cultural factors and operational motivation factors of the personnel in the Comptroller General Department; 3) to compare the performance of personnel of the Comptroller General Department, classified by personal factors; 4) to study the motivation factors affecting the performance of the personnel of the Comptroller General Department; and 5) to study the organizational cultural factors affecting the performance of the personnel in the Comptroller General Department. This study used stratified random sampling. The population used in this study was civil servants, permanent employees, hiring employees, temporary workers who worked under the Comptroller General Department in the central area, totaling 1,220 people. The sample of 301 respondents was calculated by Taro Yamane’s formula. The data collection tool was a constructed questionnaire. The statistics used in data analysis were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and multiple regression correlation analysis The results of the study showed that 1) the level of the performance of personnel in the Comptroller General Department in the common area was at the very efficient level, which the highest aspect was time, 2) the effect of the motivation and support factor was at the high efficiency level, with the highest levels aspect was the success of the work of the person, 3) the efficiency level of the organizational culture factor was at a high level, while the highest aspect was the culture of success, structure and regulation, 4) the results of comparing the performance of personnel which was classified according to personal characteristics revealed that the personnel with different age and status had different performance, and those under the age of 30 and the age of 30-40 years of age had overall performance less than that of those in the age of 41-50 and 51 years and over with single status, 5) analysis of factors affecting the work efficiency of personnel with the discrepancy of 5 percent indicated that the motive sustaining factor and organizational culture factors affected the work efficiencyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168121.pdfFULLTEXT.pdf15.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons