Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7451
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธัญวลัย วิรัชกุล, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T04:06:12Z-
dc.date.available2023-07-07T04:06:12Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7451-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการบริการของโรงพยาบาล (2) ศึกษาระดับคุณภาพการบริการของโรงพยาบาล (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการของโรงพยาบาล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากรในการวิจัยสำหรับเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลจำนวน 68,880 คน กําหนดขนาดตัวอย่างโดยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ และกลุ่มตัวอย่างสำหรับเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ผู้บริหารของโรงพยาบาลจำนวน 4 คน ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการบริการของโรงพยาบาลคือ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยสนับสนุนการมารับบริการ ปัจจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการให้บริการ และปัจจัยภายในของโรงพยาบาล (2) ระดับคุณภาพการบริการของโรงพยาบาลโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการของโรงพยาบาล คือ ควรมีการจัดลำดับคิวการรับบริการ ควรปรับปรุงระบบการให้บริการ ควรจัดเก้าอี้ในการนั่งคอยอย่างเพียงพอในจุดรับบริการต่างๆ ควรให้ความสำคัญด้านกฎหมายที่เกี่ยวกับการให้บริการของโรงพยาบาล ควรให้สิทธิ์การรับบริการที่เท่าเทียมกัน ควรนำเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการทำงาน ควรจัดเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอต่อจำนวนผู้มารับบริการจำนวนมากในเวลาเดียวกัน ควรเพิ่มตู้รับความคิดเห็นและควรพัฒนาพฤติกรรมการให้บริการของเจ้าหน้าที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.101en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลของรัฐth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการบริการของโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing service quality of a government hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study factor influencing service quality of a government hospital (2) to study level of service quality of a government hospital (3) to recommend guidelines for developing service quality of a government hospital. This research was mixed method. Population in the research for quantitative data of 68,880 out-patients. Sample size was calculated by using Taro Yamane calculation formula and obtained 400 samples with accidental sampling, and sample for collecting qualitative data was 4 hospital’s executives with purposive sampling method. Research tools were a questionnaire and an interview form. Statistics for data analysis were percentage, frequency, mean, standard deviation, t-test and stepwise multiple regression. Research findings revealed that (1) factors influencing service quality of a government hospital were external factors, supportive factors, factors related to services and internal factors (2) an overall image of level of service quality of a government hospital was at moderate level (3) recommendation guidelines for developing service quality of a government hospital were there should be token for service queuing, improve service systems, provide sufficient spaces and waiting areas at the service corners, give importance to the relevant laws relating the services, serve with equal treatment, use modern technology in work, provide sufficient officers in case of plenty of patients at the same time, increase complaint boxes and develop behavior for servicesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157766.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons