Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7453
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorหรรษา สันติวิไลลักษณ์, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T04:18:00Z-
dc.date.available2023-07-07T04:18:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7453-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) โซเชียลคอมเมิร์ซที่ส่งผลต่อความภักดีทาง อิเล็กทรอนิกส์ และ (2) แรงสนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อความภักดีทางอิเล็กทรอนิกส์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ผู้ที่ซื้อสินค้าออนไลน์ ซึ่งไม่ทราบ จำนวนประชากรที่แน่นอน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่เคยซื้อสินค้าออนไลน์ที่อาศัยอยู่ในเขตภาคเหนือ ตอนล่าง ขนาดของตัวอย่างกำหนดโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 405 คน ใช้วิธีการสุ่ม ตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน คือ การวิเคราะห์ ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยด้านโซเชียลคอมเมิร์ซที่ส่งผลต่อความภักดีทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ กระทู้บนชุมชนออนไลน์ การจัดอันดับและแสดงความคิดเห็นของเพื่อน และข้อเสนอและการ แนะนาผลิตภัณฑ์ของเพื่อน ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ปัจจัยด้านแรง สนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อความภักดีทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ แรงสนับสนุนทางข้อมูลข่าวสารจาก เพื่อนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ และแรงสนับสนุนทางด้านอารมณ์จากเพื่อนบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการค้าสินค้าเทคโนโลยีสารสนเทศth_TH
dc.subjectความภักดีต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleอิทธิพลของโซเชียลคอมเมิร์ซและแรงสนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อความภักดีทางอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.title.alternativeInfluence of social commerce and social support impact to electronic loyaltyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was aimed to: (1) study Social Commerce influencing Electronic Loyalty; and (2) study Social Support influencing Electronic Loyalty. The research used quantitative method. The population is online buyers with unknown size. Sample was collected from online buyers in lower Northern Region. Sample size by Taro Yamane was 405 customers collected by multi-stage sampling with questionnaire instrument. The descriptive statistics were mean, percentage, standard deviation as well as inferential statistics was multiples regression. The results revealed that: (1) factors of Social Commerce influenced Electronic Loyalty were topics in communities, rating and comment as well as product referral and recommendation with statistical significance .05; and (2) factors of Social Support influenced Electronic Loyalty were information support and emotion support in social network with statistical significant .05en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158641.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons