Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7464
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบth_TH
dc.contributor.authorอนวัฒน์ ธิบดี, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-07T06:45:42Z-
dc.date.available2023-07-07T06:45:42Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7464en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (3) ศึกษาอิทธิพลทางปัจจัยลักษณะงานที่มีต่อระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และ (4) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 4,228 นาย กลุ่มตัวอย่างคำนวณโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 365 นาย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล นำข้อมูลที่รวบรวมมาประมวลผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมมีปัจจัยส่วนบุคคลที่ต่างกันมีระดับคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมที่มีเพศ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส และชั้นยศแตกต่างกันมีระดับคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ปัจจัยลักษณะงานในด้านการปกครองบังคับบัญชา ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ความรับผิดชอบ การได้รับการยอมรับนับถือ และความสำเร็จในการทำงานร่วมกันอธิบายระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมได้ร้อยละ 46 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) ผู้บังคับบัญชา ระดับสูงควรให้ความยุติธรรมในการประเมินผลการปฏิบัติงาน จัดสวัสดิการที่ครอบคลุมตามความต้องการของข้าราชการ และพิจารณามอบหมายงานอย่างเป็นธรรม เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.103en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectข้าราชการทหาร--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมth_TH
dc.title.alternativeQuality of working life of soldiers at Office of the Permanent Secretary, Ministry of Defenseth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.103-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.103en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the level of quality of working life of soldiers at Office of the Permanent Secretary, Ministry of Defense (2) to compare the level of quality of working life of soldiers at Office of the Permanent Secretary, Ministry of Defense classified by personal factors (3) to examine the influence of job factors on quality of working life of soldiers at Office of the Permanent Secretary, Ministry of Defense and (4) to provide guidelines on improving the quality of working life of soldiers at Office of the Permanent Secretary, Military of Defense. This research was a quantitative research. The population was 4,228 soldiers at Office of the Permanent Secretary, Ministry of Defense. The sample size was calculated by Taro Yamane for 365 samples. A questionnaire was used as a research instrument for data collection. The statistics used to analyze data were descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test. Inferential statistics employed was multiple regression analysis. The result showed that: (1) the overall level of quality of working life of respondents was at a high level (2) the results of a comparison between soldiers officers’ personal factors and quality of working life showed that there was no difference in the quality of working life based on personal factors. When considering each aspect, it was found that the differences in gender, education, marital status, and rank of military officers had the statistically significant differences on their quality of working life at the 0.05 level (3) job factors of hierarchy, job description, job responsibility, recognition and achievement in work could jointly predict 46% of the quality of working life of soldiers at Office of The Permanent Secretary, Ministry of Defense and (4) high-level supervisors should be fair in evaluating performance, provide appropriate welfare and impartial delegation of work in order to increase the quality of working life of soldiers at Office of The Permanent Secretary, Ministry of Defense.en_US
dc.contributor.coadvisorรชพร จันทร์สว่างth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158666.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons