Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7467
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นพดล อุดมวิศวกุล | th_TH |
dc.contributor.author | เนตรนุช อาษากิจ, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T07:07:29Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T07:07:29Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7467 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประสิทธิผลการให้บริการแก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการให้บริการแก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร และ (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาประสิทธิผลการให้บริการแก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมวิธี ประชากรสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณเป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร 5 แห่ง จำนวน 2,878 คน กลุ่มตัวอย่างคำนวณโดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จำนวน 351 คน และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ สำหรับผู้ให้ข้อมูลสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นผู้บริหารมหาวิทยาลัยจำนวน 10 คน ได้แก่ คณบดีและรองคณบดีที่เกี่ยวข้อง แห่งละ 2 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์การถดถอย ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทางอุปนัยในการหาข้อสรุปร่วมและนำเสนอด้วยการพรรณนาความ ผลการศึกษาพบว่า (1) ประสิทธิผลการให้บริการแก่นักศึกษาอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการให้บริการแก่นักศึกษา ได้แก่ ปัจจัยการบริหารจัดการ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารงานทั่วไป ด้านการวัดผลหรือการประเมินผลการปฏิบัติงาน และปัจจัยการมีส่วนร่วมของนักศึกษา และ (3) แนวทางในการพัฒนาประสิทธิผลการให้บริการแก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร บัณฑิตศึกษาควรนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการบริการเพื่อให้เกิดความรวดเร็ว บัณฑิตศึกษาควรนาสื่อสังคมออนไลน์เข้ามาช่วยในการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร ใช้การติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ เช่น การยื่นแบบคำร้องต่างๆ เพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีทักษะผสมผสานทั้งด้านดิจิทัลและความรู้ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ในการทำงานให้มากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.98 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บัณฑิต--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | ประสิทธิผลองค์การ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาประสิทธิผลการให้บริการแก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Development of service effectiveness for Graduate Students of Rajabhat Universities in Bangkok | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2017.98 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.98 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (1) study service effectiveness for Graduate Students of Rajabhat Universities in Bangkok (2) study factors affecting service effectiveness for Graduate Students of Rajabhat Universities in Bangkok and (3) recommend guidelines for developing service effectiveness for Graduate Students of Rajabhat Universities in Bangkok. This research was a mixed method. Population for quantitative research was 2,878 graduate students from 5 Rajabhat universities. Samples were calculated from Taro Yamane formula with 95 confidence level and obtained 351 samples. Sampling method employed stratified random sampling. The key informants for qualitative research were 10 administrators which were selected dean and associated deputy dean of each university. Research instruments were a questionnaire and in-depth structured interview. Statistics used for quantitative analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and multiple regression. Inductive data analysis methods was used for qualitative analysis and reported by descriptive method. The results of this research were as follows: (1) level of service effectiveness was at high level (2) factors affecting service effectiveness were factor of management, human resource management, general administration, measurement or evaluation of the work, and student participation, and (3) guidelines for developing service effectiveness for graduate students of Rajabhat universities in Bangkok, Graduate School should apply appropriate information technology for the rapid service. Graduate School should apply online social media to distribute accurate information for example; in document submitting process to decrease work duplication and develop personnel capacity to gain knowledge both digital and analytical skills. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พนมพัทธ์ สมิตานนท์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
158677.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License