Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7485
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชาว์ โรจนแสง | th_TH |
dc.contributor.author | รุ่งนภา รุจกิจยานนท์, 2514- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-10T04:06:48Z | - |
dc.date.available | 2023-07-10T04:06:48Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7485 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545 | th_TH |
dc.description.abstract | จากการที่ประเทศไทยได้ประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรสัตว์น้ำบริเวณชายฝั่งมานาน ซึ่งปัจจุบันชาวประมงไทยยังไม่ได้รับการสนับสมุนให้ทำประมงในทะเลลึกอย่างจริงจังโดยเฉพาะการจับปลาทูน่า ซึ่งเป็นปลาเศรษฐกิจและเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างมากในปัจจุบันการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาขนาดตลาดและปริมาณปลาทูน่าที่ได้จากการประมงเบ็ดราวที่เป็นความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ (2) เพื่อหาแนวทางในการเพื่มศักยภาพในการทำประมงเบ็ดราวทูน่าในทะเลลึก และ (3) เพื่อนำเสนอผลการวิจัยให้ผู้เกี่ยวข้องได้นำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการทำประมงนอกน่านน้ำไทยวิธีดำเนินการวิจัย ได้ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยสัมภาษณ์จากผู้รประสบการณ์หรือความรู้เกี่ยวก็บการประมงเบ็ดราวทูน่าผลการวิจัยพบว่าโอกาสในการพัฒนาการประมงนอกน่านนั้าไทยเพื่อตอบสนองต่อตลาดและความต้องการปลาทูน่าทั้งในประเทศและต่างประเทศนั้นมีแนวโน้มและความเป็นไปได้สูง เพราะปลาทูน่าจากเบ็ดราวเป็นที่นิยมบริโภค โดยเฉพาะใช้ทำอาหารประเภทปลาดิบ โดยในตลาดญี่ปุ่นมีความต้องการไม่ต่ำกว่าปีละ 450.000 ดัน ในขณะที่แหล่งจับปลาทูน่าด้วยเครื่องมือเบ็ดราวบริเวณมหาสมุทรอินเดีย ในปัจจุบันมีปริมาณการจับประมาณ 200,000 ดันต่อปีเท่านั้น การวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะ 2 ประเด็นคือ (1) ประเทศไทยควรเร่งพัฒนากองเรือเบ็ดราวทูน่า; และ (2) ดำเนินการปรับปรุงท่าเทียบเรือสะพานปลาภูเก็ตให้สามารถรองรับเรือประมงเบ็ดราวทูน่าที่มีขนาดใหญ่และมีจำนวนมากขึ้นซึ่งจากข้อเสนอแนะทั้งสองข้อ ต้องประสานงานความร่วมมือในการสนับสมุนจากภาครัฐบาลและภาคเอกชน เพื่อให้บรรลุตามนโยบายของรัฐบาลการพัฒนาการประมงนอกน่านน้ำไทย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ประมงปลาทูน่า--แง่เศรษฐกิจ | th_TH |
dc.subject | ประมงทะเล--แง่เศรษฐกิจ | th_TH |
dc.title | การศึกษาขนาดตลาดปลาทูน่าและศักยภาพการจับปลาทูน่าด้วยเบ็ดราวทะเลลึก | th_TH |
dc.title.alternative | Study of Tuna market and potential of catching through the deep sea longline | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | There have been insufficient sea animal for years in fisheries at Thai coastal.Nowadays, Thai fishermen are not encouraged to work in deep sea where they can catch many sea animal, especially, tuna. At present, tuna is very important as of economy fish and high demand in the market. The objectives of this study were (1) to study the market and quantity of tuna from longline fisheries and demand of the domestic and foreign market: (2) to find solutions for developing the potential of deep sea longline fisheries; and (3) to propose this thesis to the concerned party in order to develop the fisheries outside territorial waters of Thailand, to meet the policy and development plan. This results from experimental through interviewing the experts who have experiences and knowledges of the tuna from deep sea longline. It was found that more opportunities could be developed in the fisheries outside Thai territorial waters in order to support the demand of tuna in domestic and foreign market. Since tuna can be served raw as the favourite Japanese food called Sashimi, the demand of tuna from longline fisheries in Japan is not less than 450,000 metric tons per year while we can catch in the Indian Ocean for only 200,000 metric tons per year. It was recommended that (1) tuna longline fleet should be developed; and (2) the Phuket fishing port should be improved to support the fleet and completed with the necessary public facilities. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วิชาญ อิงศรีสว่าง | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License