Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจุมพล หนิมพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T08:07:22Z-
dc.date.available2022-08-18T08:07:22Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/748-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบพฤติกรรมเบี่ยงเบนในการหาเสียงเลือกตั้งระดับท้องถิ่น (2) ศึกษาปัจจัยที่เอื้อต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนในการหาเสียงเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ผลการวิจัยพบว่า (1) พฤติกรรมเบี่ยงเบนในการหาเสียงเลือกตั้งระดับท้องถิ่น มีรูปแบบเป็นไปตามข้อห้ามในมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545 ชี่งมีรูปแบบไม่แตกต่างกันกับพฤติกรรมเบี่ยงเบนในการหาเสียงเลือกตั้งระดับประเทศ (2) นอกเหนือ จากความต้องการมีตำแหน่งเกียรติยศชื่อเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งแล้ว ฐานะรายได้ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง ระดับการศึกษา ทัศนคติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง รวมทั้งสภาพ สังคม การเมือง ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น ในพีนที่ 7 ตำบล ของอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลกไม่ได้เป็นปัจจัยสำคัญทีเอีอต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนในการหาเสียงเลือกตั้งระตับท้องถิ่นครั้งนี้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.124-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการหาเสียงเลือกตั้งth_TH
dc.subjectการเลือกตั้งท้องถิ่น--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.titleพฤติกรรมเบี่ยงเบนในการหาเสียงเลือกตั้งระดับท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลและนายกองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตพื้นที่ อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeDeviant behavior in local election campaigns : a case study of the elections for Tambol administrative organization members and president in Wang Tong District, Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.124-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) study deviant behavior in local election campaigns; and (2) study the factors that supported deviant behavior in local election campaigns. The results showed that: (1) The types of deviant behavior in the local election campaigns studied were in accordance with the prohibition under Clause 57 of the 2002 Local Government or Local Administrator Act and were no different from the types of deviant behavior found in national elections. (2) Besides candidates’ desire for fame or an honorable position, the other factors of voter income, candidate income, educational level and attitudes of voters, and the local social and political situation as well as local culture and traditions, did not significantly support deviant behavior in the local election campaigns studied.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
98145.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons