Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7490
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพิ่ม ภักดีการ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-10T07:48:28Z-
dc.date.available2023-07-10T07:48:28Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7490-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานส่วนตำบลต่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกำแพงเพชร 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อ ระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกำแพงเพชร โดยจำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคล และปัจจัยองค์กร 3) เพื่อศึกษาปัญหาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดกำแพงเพชร กลุ่มตัวอย่างคือ ปลัดองค์องค์การบริหารส่วนตำบล พนักงานส่วนตำบล และพนักงานจ้าง สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 272 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชัเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .95 สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าถี และวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นของพนักงานส่วนตำบล เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกำแพงเพชร โดยภาพรวมมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อยู่ในระดับปานกลาง (2) มีความ สัมพันธ์กันความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกำแพงเพชร ตามปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุ และ ระยะเวลาการปฏิบัติราชการต่างกัน พนักงานส่วนตำบลมีความเห็น เกี่ยวกับระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แตกด่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ วุฒิการศึกษา ตำแหน่ง รายได้ด่อเดึอน และปัจจัยองค์กร คือขนาด อบต. ที่สังกัด ด่างกัน พนักงานส่วน ตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ไม่แตกต่างกัน (3) ปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกำแพงเพชร ที่สำคัญมี 3 ประการ เรียงลำดับจาก มากไปหานัอย ดังนี้ ปัญหาการไม่วางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ปัญหาการไม่สนับสนุนงบประมาณใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และปัญหานโยบายของผู้บริหารไม่สนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.248-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--กำแพงเพชรth_TH
dc.titleการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกำแพงเพชรth_TH
dc.title.alternativeHuman resource development of subdistric administrative organization in Kamphaengphet provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.248-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research have the objective for 1) to study Human resource development of Subdistric Administrative Orgamization in Kamphaengphet Province 2) to compare with Human resource development of Subdistric Administrative Orgamization in Kamphaengphet Province by separate follow personal factor and 3) to study a problem and remedy development Human resource development of Subdistric Administrative Organization in Kamphaengphet Province, The sample is organization deputy administrates Tumbol part, part Tumbol officer, and an officer hires to are under an organization administrates Tumbol part in the Kamphaeng Phet 272 persons (purposive sampling) a tool that use to is the questionnaire, the questionnaire is valuable the accuracy equals to .95 the statistics that uses in data analysis, for example, average statistics, (Mean) the value deviates the standard (standard deviation) frequency value .(frequency) and the perccntage(percentagc) and analyse the data testa the hypothesis, use value statistics but (t-test) ,and value statistics F (f-test) The results of research were found as follows : (1) Human resource development of Subdistric Administrative Orgamization in Kamphaengphet Province in the overall image has resource human development stay in the average consider lay a side meet that there is resource human development stay in die average arrange respectively the development too much froms a little as follows development oneself side training side education side and administration knowledge side respectively (2) have something be related to with the opinion builds resource human development of an Subdistric Administrative Orgamization in Kamphaengphet Province, follow personal factor for example, age and period of practice government service time differently, part Tumbol officer has an opinion about development resource human different level 1 implily important statistics way that .05 factor personal level for example 1 educational background 1 position 1 the income builds month 1 and organization factor, be the size, bake the district 1 that be under 1 differently , part Tumbol officer has an opinion about development resource human level, not different (3) a problem about resource human development of Subdistric Administrative Orgamization in Kamphaengphet Province, at important have 3 the points , arrange too much from seek a little , as follows, doingnot plan problem develops human resource , doingnot support budget problem in resource human development, and policy problem of the executive doesn't support resource human development, respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118846.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons