Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7500
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ศิริรัตน์ ขำละออ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-10T08:50:10Z | - |
dc.date.available | 2023-07-10T08:50:10Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7500 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการจัดการด้านการบัญชีและการเงินของบริษัทในอุตสาหกรรมน้ำตาล (2) เปรียบเทียบการจัดการด้านการบัญชีและการเงินของบริษัทที่มีผลประกอบการดีกับไม่ดีในอุตสาหกรรมน้ำตาล (3) เสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขการจัดการด้านการบัญชีและการเงินของบริษัทในอุตสาหกรรมน้ำตาลการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงประจักษ์ กลุ่มประชากรที่ใช้ศึกษา คือ บริษัทที่ประกอบ กิจการในอุตสาหกรรมน้ำตาลในประเทศไทย สำหรับปีบัญชี 2549 จำนวนทั้งสิ้น 46 บริษัทประกอบด้วย บริษัทที่มีผลประกอบการดี(หรือมีกำไร)จำนวน 31 บริษัท และบริษัทที่มีผลประกอบการไม่ดี(หรือขาดทุน)จำนวน 15 บริษัท โดยผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้บริหารที่มีอำนาจสูงสุดและผู้บริหารที่มีอำนาจรองลงมาในฝ่ายบัญชีและการเงิน จำนวนบริษัทละ 3 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยใช้กรอบแนวคิดของ McKinsey 7-S Framework สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที(t-test) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปในการประมวลผล ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า แนวทางการจัดการด้านการบัญชีและการเงินของบริษัทในอุตสาหกรรมน้ำตาลที่มีผลประกอบการดีกับไม่ดี โดยภาพรวมมีแนวทางไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยแล้วพบว่า การจัดการด้านการบัญชีและการเงินที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ โครงสร้างของฝ่ายบัญชีและการเงิน บุคลากรด้านการบัญชีและการเงิน และรูปแบบการบริหารจัดการงานด้านการบัญชีและการเงิน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.230 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมน้ำตาล--การเงิน | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมน้ำตาล--การบัญชี | th_TH |
dc.title | การเปรียบเทียบการจัดการด้านการบัญชีและการเงินของบริษัทในอุตสาหกรรมน้ำตาล | th_TH |
dc.title.alternative | Comparison of accounting and financial management of companies in sugar industry | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.230 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.230 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are (1) to study accounting and financial 2ff°mpanies,in sugar industry (2) to compare accounting and financial management between good and poor performance companies in sugar industry (3) to present the methods in improving accounting and financial management of companies in sugar industry. This research is empirical research. The target research is 46 companies in Thailand accounting year 2549, including companies with good performance(profitable) for 31 companies and companies with poor performance(lost) for 15 companies. The questionnaire has been responded by the highest and high management level in accounting and finance department 3 persons per a company. The tool in gathering data is the questionnaire created by the researcher base on McKinsey 7-S Framework. The statistic in analyzing the data includes frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test by using the computer program. The result of this research found that accounting and financial management between good and poor performance companies in sugar industry has not difference by the overall. When we consider by each factor we found that accounting and financial management has difference statistically significant at 0.05 level includes Structure, Staff and Style. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สุภมาส อังศุโชติ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118849.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License