Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7525
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีระ พรหมน้อย, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T06:29:13Z-
dc.date.available2023-07-11T06:29:13Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7525-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพี่อศึกษาการรับรู้บรรยากาศองค์การของ พนักงาน และความพึงพอใจในงานของพนักงาน (2) เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างระดับการรับ รู้บรรยากาศองค์การของพนักงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เพื่อศึกษาความแตกต่าง ระหว่างระดับความพึงพอใจในงานของพนักงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (4) เพี่อศึกษา ความสัมพันธ์ของการรับรู้บรรยากาศองค์การกับระดับความพึงพอใจในงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใซ้ประกอบด้วย พนักงานที่ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม เขต ชายส่งทะเลภาคตะวันออก จำนวน 388 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่าที่เกี่ยวกับการวัดระดับการรับรู้บรรยากาสองค์การ และความพึงพอใจใน งานที่ผู้วิจัยสรัางขึ้นมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และ ทดสอบรายคู่ด้วยวิธี เชฟเท่ (Scheffe’s test) หรือ แทมเฮน (Tamhane’s test) สัมประสิทธ์ สหสัมพันธ์ และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for WINDOWS ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานมีการรับรู้บรรยากาศองค์การอยู่ในระดับปานกลาง และมีความพึงพอใจในงานอยู่ในระดับปานกลาง (2) พนักงานที่มีอายุ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน และระดับตำแหน่งต่างกัน มีการรับรู้บรรยากาศองค์การไม่แตกต่างกัน แต่พนักงานที่มีระดับ การศึกษาาต่างกัน มีการรับรู้บรรยากาศองค์การ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระคับ .05 (3) พนักงานที่มีอายุ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน และระดับตำแหน่งต่างกัน มีความพึงพอใจในงาน ไม่แตกต่างกัน แต่พนักงานที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความพึงพอใจในงานแตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) การรับรู้บรรยากาศองค์การมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง กับ ความพึงพอใจในงานของพนักงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงาน -- ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleการรับรู้บรรยายกาศองค์การและความพึงพอใจในงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมเขตชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativePerception of organizational climate and job satisfaction of staff working at the Eastern Seaboard Industrial of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the perception of organization climate and job satisfaction’s level of staffs; (2) to study the differentiation between the perception of organization climate’s level of staffs based on personal factors (3) to study the differentiation between the job satisfaction’s level of staffs based on personal factors; and (4) to study the correlation between the perception of organization climate and job satisfaction’s level of staffs. The sample consisted of 388 staffs working at the Eastern Seaboard industrial of Thailand. The instrument used for data collection was a rating- scale questionnaire with its reliability of .96 regarding their levels of the perception of organization climate and job satisfaction. The SPSS for WINDOWS program was used to analyze the percentage, mean, stand deviation, ANOVA, the Scheffe’s or Tamhane’s, correlation coefficient, and multiple regressions. The study results revealed that (1) the staffs’ perception of organizational climate and job satisfaction levels were in the middle (2) the difference of the staffs’ perception of organizational climate levels based on age, working experience and position level, were not statistically significant, whereas educational levels significantly accounted for difference .05; (3) the difference of the staffs’ job satisfaction levels based on age, working experience and position level, were not statistically significant, whereas educational levels significantly accounted for difference .05; (4) the correlation between perception of organizational climate and job satisfaction was positively high and reached the significance at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77165.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons