Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสงth_TH
dc.contributor.authorสมคิด เจดีย์วงศ์, 2497-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T06:46:23Z-
dc.date.available2023-07-11T06:46:23Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์คามแนวคิดของ เอนรี มินทซ์เบิร์ก (Henry Mintzberg) ในด้านต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม และการศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการดำเนินกลยุทธ์ของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตจังหวัดเพชรบุรี การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อหาค่าสถิติพื้นฐาน และสถิติอนุมานเพื่อใช้วิเคราะห์ผลกระทบของตัวแปรต่างๆ ขนาดของประชากร 661 ราย ขนาดของสิ่งตัวอย่าง - 250 ราย ทำการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการ SMEs ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ ให้ความสำคัญกลยุทธ์ในด้านต่างๆ เรียงลำดับความสำคัญดังนี้ กลวิธีในการเดินหมาก การกำหนดฐานะหรือตำแหน่งทัศนภาพ แบบแผนหรือรูปแบบ แผน ในส่วนของความสำเร็จ ผู้ประกอบการให้ความสำคัญเรียงลำดับความสำคัญดังนี้ การรนวัตกรรมที่ดีกว่า การตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ดีกว่า คุณภาพที่เหนือกว่า และประสิทธิภาพที่เหนือกว่า ในส่วนของขนาดความสัมพันธ์ (correlations) สามารถอธิบายขนาดความสำคัญได้ และมีนัยสำคัญทางสถิติเป็นอย่างยิ่งในทุกๆ ด้านของกลยุทธ์ ยกเว้นแผนชึ่งไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในส่วนของรูปแบบความสัมพันธ์ (regressions) ใช้วิธี stepwise regression พบว่า ถ้าใช้ทัศนภาพเพียงอย่างเดียวสามารถอธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ได้ 30% ถ้าใช้กลยุทธ์ในส่วนอื่นๆ ร่วมกันอธิบายสามารถอธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ได้ 40%th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectธุรกิจขนาดกลาง--การจัดการth_TH
dc.subjectธุรกิจขนาดย่อม--การจัดการth_TH
dc.subjectSMEsen_US
dc.titleกลยุทธ์การสร้างความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeStrategies for success of small and medium enterprises' entrepreneurs in the province of Phetchabunen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study Henry Mintzbergร strategies that effected on the success of small and medium enterprises in Phetchabun province and to study the environment that effected the using of strategies. This research is an exploratory research which used the descriptive statistics to find basic statistics and inferential statistics to analyze the impact of variables. The populations were 661 people and the samples were 250 people which were selected by simple random sampling. The research findings showed that the important strategies for entrepreneur s of small and medium enteiprises in Phetchabun province were ploy, position, perspective, pattern and plan respectively. The superior innovation, superior customer responsiveness, superior quality and superior efficiency were important on the success of entrepreneur's of small and medium enterprises in Phetchabun province respectively. The correlations of all strategies were at a high significance except plan. The regression using stepwise regression was found that only perspective explained 30% of regression and perspective, included with others except plan explained 40% of regression.en_US
dc.contributor.coadvisorสมจิตร ล้วนจำเริญen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77166.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons