Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7540
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุไก่ โสบผอม, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T07:26:00Z-
dc.date.available2023-07-11T07:26:00Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7540-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้ใช้บริการท่าอากาศยานหาดใหญ่ที่มีต่อระบบการให้บริการท่าอากาศยานตามโครงการจัดอันดับท่าอากาศยาน (2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของระบบการให้บริการท่าอากาศยานตามโครงการจัดอันดับท่าอากาศยาน ตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ และ (3) ศึกษาปัจจัยระบบการให้บริการท่าอากาศยานตามโครงการจัดอันดับท่าอากาศยาน ที่ส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการท่าอากาศยานหาดใหญ่ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ประชาชนคนไทยทั่วไปที่มาใช้บริการของท่าอากาศยานหาดใหญ่ระหว่างเดือนมกราคม-เมษายน 2564 จำนวน 609,302 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการสูตรคำนวณของทาโร่ ยามาเน่ ได้ 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน การทดสอบพหูคูณถดถอย ผลการศึกษาพบว่า (1) ระบบการให้บริการท่าอากาศยานหาดใหญ่ตามโครงการจัดอันดับท่าอากาศยาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การตรวจหนังสือเดินทาง/หลักฐานแสดงตัวบุคคล รองลงมา ความคิดเห็นโดยรวมต่อท่าอากาศยาน และด้านที่น้อยที่สุด คือ การเดินทางสู่ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ตามลำดับ และสาหรับระดับคุณภาพการให้บริการท่าอากาศยานหาดใหญ่ พบว่า คุณภาพการบริการในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความน่าเชื่อถือ รองลงมา คือ ความเป็นรูปธรรมของบริการ และด้านที่น้อยที่สุด คือ การดูแลเอาใจใส่ (2) ผู้ใช้บริการที่มีอายุและวัตถุประสงค์ของการเดินทางที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระบบการให้บริการท่าอากาศยานตามโครงการจัดอันดับท่าอากาศยานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ระบบการให้บริการท่าอากาศยานตามโครงการจัดอันดับท่าอากาศยานกับคุณภาพการให้บริการท่าอากาศยานหาดใหญ่ มีความสัมพันธ์กันสูงในทิศทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยค่าน้ำหนักความสำคัญของปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพการให้บริการมีอำนาจในการพยากรณ์ได้ร้อยละ 81.10.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectท่าอากาศยานหาดใหญ่--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectท่าอากาศยาน--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการรับรู้คุณภาพการให้บริการของผู้โดยสารชาวไทยที่มีต่อท่าอากาศยานหาดใหญ่th_TH
dc.title.alternativePerception of service quality of Thai passengers towards Hat Yai International Airporten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed: (1) to investigate the level of motivation and the work efficiency of employees in high voltage extension section of Provincial Electricity Authority (Headquarters); (2) to compare the work efficiency of employees in high voltage extension section of Provincial Electricity Authority (Headquarters), classified by personal factors; (3) to investigate motivation influencing the work efficiency of employees in high voltage extension section of Provincial Electricity Authority (Headquarters). This study was quantitative research. The population applied in the study was employees in high voltage extension section of Provincial Electricity Authority (Headquarters), consisting of Design Division and Construction Division for Transmission System. The sample size was calculated by Taro Yamane's formula and obtained 135 samples using stratified sampling method. Data was collected by a questionnaire. Statistical analysis included the frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, Least Significant Difference and multiple regression analysis. The results demonstrated that: (1) The work motivation level in motivation factor and hygienic factors was at a high level in overall as well as overall work efficiency level was also at a high level. (2) The employees with different operation duration had different work efficiency with a statistical significance at the level of 0.05 (3) Multiple regression analysis indicated that motivator factor influenced the work efficiency of employees including responsibility, working success and advancement by the predictive estimate of 70.3 with a statistical significance at 0.05. Hygienic factor influenced the work efficiency of employees including status of work, salary, organization policies, personal life and working stability by the predictive estimate of 66.7 with a statistical significance at 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_166543.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons