Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิชัย พรลีแสงสุวรรณ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T07:36:22Z-
dc.date.available2023-07-11T07:36:22Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7543-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาเปรียบเทียบ (1) ปัญหาการบริหารจัดการด้าน ภาวะผู้นำของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลเขาค้อกับองค์การบริหาร ส่วนตำบลทุ่งสมอในอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ (2) การพัฒนาการบริหารจัดการด้านภาวะผู้นำของ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลเขาค้อกับองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่ง สมอในอำเภอเขาค้อ และ (3) ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่มีส่วนสำคัญทำให้การพัฒนาการบริหาร จัดการด้านภาวะผู้นำของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลเขาค้อกับ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งสมอในอำเภอเขาค้อประสบผลสำเร็จ ทั้งนี้ได้นำ 11M มาเป็นกรอบแนวคิด ในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่าน การหาค่าความเที่ยงดรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระคับ 0.95 สำหรับกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนที่อยู่ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลทั้ง 2 แห่ง รวม 1,028 คน การเก็บรวบรวมข้อมูล สนามดำเนินการระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2552 ถึง วันที่ 25 สิงหาคม 2552 เก็บรวบรวมแบบสอบถาม กลับคนมาไต้ 899 ชุด คิดเป็นรัอยละ 87.45 ของแบบสอบถามทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ คือ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างขององค์การบริหารส่วนตำบลทั้ง 2 แห่ง พบว่า ไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ (1) ปัญหาที่สำคัญ คือ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลไม่ได้ริเริ่มนำ ระบบคุณธรรม และหลักธรรมมาใช้ในการปฎิบัติงานในหน่วยงาน (2) กรมส่งเสริมการปกครองห้องถิ่น ควรจัดการฝึกอบรมนายกองค์การบริหารส่วนตำบลในเริ่องดงกล่าว และควรมีการประเมนผลด้วย และ (3) ปีจชัยภายในและปัจจัยภายนอกที่มึส่วนสำคัญทำให้การพัฒนาการบริหารชัดการต้านภาวะผู้นำของ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลประสบผลสำเร็จ ได้แ่ก, การมีภาวะผู้นำที่เหมาะสม รวมทั้งการที่ ประชาชนยอมรับอย่างกว้างขวางและความศรัทธาในตัวนายกองค์การบริหารส่วนตำบลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.64-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบการบริหารจัดการด้านภาวะผู้นำของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลเขาค้อกับองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งสมอในอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeThe comparison of management administration regarding leadership of the chief executives between the Khao Kho and the Thung Samo subdistrict administrative organizations in Khao Kho district of Phetchabun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.64-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to compare (1) the problems of management administration regarding leadership of the chief executives between Khao Kho and Thung Sarno Sub- district Administrative Organizations in Khao Kho District of Phetchabun Province, (2) the development of management administration regarding leadership of the chief executives between the Khao Kho and the Thung Sarno Sub-district Administrative Organizations in Khao Kho District, and (3) the internal and external factors that played significant parts in the success of management administration development regarding leadership of the chief executives of Khao Kho and Thung Sarno Sub-district Administrative Organizations in Khao Kho District. The conceptual framework of the I IM was applied to this study. This study was a survey research using questionnaire with validity check and 0.95 level of reliability. Samples of 1,028 were residents of both sub-districts. Field data collection was conducted during August 1-25, 2552 where 899 sets of questionnaire were collected, equal to 87.45 % of total samples. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The comparative study results showed that: the opinions of residents from both sub- districts were not different, (1) major problem was Sub-district Administrative Organizations’ chief executives did not initiate the application of merit system and moral principles in their organization management (2) the Department of Local Administration should provide Sub-district Administrative Organizations' chief executives training on the matters, and should conduct the following-up as well; and (3) major internal and external factors that played significant parts in the success of the development of management administration regarding leadership of the chief executives were: appropriate leadership of chief executives themselves, as well as vast popular faith and acceptanceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118880.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons