Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7549
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโตth_TH
dc.contributor.authorวาสนา แพทยานนท์.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T08:01:52Z-
dc.date.available2023-07-11T08:01:52Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7549en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนื้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในด้านความถูกต้องรวดเร็วในการให้บริการ ความสะดวกในการติดต่อ ความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถานที่ การรักษาความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ ความเอาใจใส่ในการให้บริการของพนักงาน และสภาพความพร้อมของพนักงาน สถานที่และเครื่องมือการให้บริการ 2) เพื่อเปรีบบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการตามประเภทของผู้ใช้บริการและลักษณะส่วนบุคคลทั้ง 6 ด้าน 3) เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในการให้บริการในทั้ง 6 ด้าน พร้อมทั้งข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้บริการ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ใช้บริการด้านสินค้าและกลุ่มผู้ใช้บริการด้านเรือ จำนวน 296 คน มีการตรวจสอบความเที่ยงตรงโดยผู้ทรงคุณวุฒิได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.9748 และค่าความตรงของเนื้อหาเท่ากับ 0.76 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาดรฐาน ค่า t-test และ ค่า F-test ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมผู้ใช้บริการส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการทั้ง 6 ด้านในระดับปานกลางเกือบทุกด้าน ยกเว้นด้านความสะอาดและความเป็นระเบียบเรืยบร้อยของสถานที่ที่ผู้ใช้บริการมีระดับความพึงพอใจมาก ส่วนประเภทธุรกิจของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันจะมีระดับความพึงพอใจที่ แตกต่างกันในด้านการรักษาความปลอดภัยของผู้ใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเพียงด้านเดียว กล่าวคือผู้ใช้บริการด้านเรือจะคำนิงถึงความปลอดภัยในการเดินเรือ การเทียบท่าและออกจากท่า ส่วนผู้ใช้บริการด้านสินค้าจะคำนึงถึงความปลอดภัยในการเก็บรักษาลินค้าทั่วไป สินค้าอันตราย การบ้องกันการสูญหายและเลียหายของสินค้า/ตู้สินค้า เป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่าเรือแห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectท่าเรือแหลมฉบังth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้ใช้บริการของการท่าเรือแห่งประเทศไทย : กรณีศึกษา ท่าเรือแหลมฉบังth_TH
dc.title.alternativeSatisfaction of the port users of Port Authority of Thailand : a case study of Laem Chabang Porten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research’s objectives were 1) To study port users’satisfaction level on speed and accuracy of service, ease in communication, sanitation and organization of the operating area, security operation, staffs attentive service, and preparedness of staff, area, and equipment. 2) To compare the satisfaction level of each aspect based on business nature and individual characteristics of the users; and 3) To uncover potential problems of each aspect and make recommendations for improvement and correction. Data collection, via a questionnaire survey, was conducted on 2 groups of port users: cargo and vessel users, totaling 296 individuals. Accuracy was examined by experts, and the reliability level was at 0.9748 and the content validity was at 0.76. Statistics used in data analysis included frequencies, percentages, arithmetic means, standard deviations, t-values, and F-values. Research results revealed that most port users were moderately satisfied with most of the 6 surveyed aspects. Only sanitation and organization of the service area was rated as highly satisfactory. Satisfaction difference based on the users’ business nature showed the only statistically significant difference in safety concerns. Vessel users were concerned about safety in vessel operation, and vessel arrival at and departure from the port. Cargo users, however, were more worried about storage security for normal and dangerous cargoes, protection against loss and damage of cargo and containers, etc.en_US
dc.contributor.coadvisorเอกพล หนุ่ยศรีth_TH
dc.contributor.coadvisorวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77168.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons