Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนุสรา ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรรณิภา สมบูรณ์, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T08:28:30Z-
dc.date.available2022-08-18T08:28:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/754-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการคงอยู่ในงาน ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร การทำงานเป็นทีม และความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพอัตราจ้างชั่วคราวในโรงพยาบาลกองทัพบก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพอัตราจ้างชั่ว คราว กลุ่มตัวอยางเป็นพยาบาลวิชาชีพอัตราจ้างชั่วคราวที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลกองทัพบก ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างน้อยหนึ่งปี จำนวน 125 คน ที่ได้รับการสุ่มแบบมีระบบ เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบด้วย 5 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร 3) การทำงานเป็นทีม 4) ความพึงพอใจในงาน และ 5) การคงอยู่ในงาน แบบสอบถามส่วนที่ 2-5 ได้รับการตรวจความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับของแบบสอบถามส่วนที่ 2-5 ได้เท่ากับ 1,0.96, 1 และ 1 ตามลำดับ และคำนวณ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามส่วนที่ 2-5 ได้เท่ากับ 0.88, 0.96, 0.96 และ 0.87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติการถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) การคงอยู่ในงาน ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร การทำงานเป็นทีม และความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพอัตราจ้างชั่วคราวในโรงพยาบาลกองทัพบก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระดับสูง และ (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในงาน ได้แก่ ความพึงพอใจในงานสามารถทำนายความแปรปรวนของการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพอัตราจ้างชั่วคราว ได้ร้อยละ 22.9 (R2= .229, p< .001)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.53-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ--ค่าจ้างth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลกองทัพบก--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพอัตราจ้างชั่วคราวในโรงพยาบาลกองทัพบก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing job retention of temporary nursing employees in the northeast army hospitalsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.53-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study job retention, transformative leadership, team work, and job satisfaction of the temporary nursing employees at the Northeast Army Hospitals and (2) to examine the factors influencing job retention of the temporary nursing employees at the Northeast Army Hospitals. The sample were 125 temporary nursing employees who had been worked for at least one year from Northeast Army Hospitals. Systematic random sampling was applied to select this group. The research tool of this study was developed by the researcher. There were 5 sections including 1) personal data, 2) transformative leadership, 3) teamwork, 4) job satisfaction, and 5) job intention. The second to the fifth parts of the questionnaire were verified by 5 experts and the content validity indexes of the second to the fifth part of the questionnaires were 1, 0.96, 1, and 1 respectively. Cronbach’s alpha reliability coefficient of the second to the fifth part of the questionnaires were 0.88, 0.96, 0.96, and 0.87 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression. The major findings were as follows. (1) The temporary nursing employees rated their job retention, transformative leadership, team work, and job satisfaction at the high level. Finally, job satisfaction was only one of factors influencing job retention which was able to predict job retention of temporary nursing employees and accounted for 22.9 (R2= .229, p < .001)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 155168.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons