Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7561
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดรรชนี บุญเหมือนใจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวนิดา ลิวนานนท์ชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิไล แจ้งสุทธิวรวัฒน์, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T08:49:09Z-
dc.date.available2023-07-11T08:49:09Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7561-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทัศนคติของผู้ตรวจสอบภายในต่อการ ควบคุมภายในตามแนว COSO (2) เปรียบเทียบทัศนคติของผู้ตรวจสอบภายในต่อการควบคุม ภายในตามแนว COSO จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด ประสบการณ์การทำงาน ระยะเวลาในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และประเภทหน่วยงานที่ผู้ตรวจสอบภายในสังกัด และ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของผู้ตรวจสอบภายในต่อการควบคุมภายในตามแนว COSO ที่นำมาใช้ในองค์กร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือผู้ตรวจสอบภายในจากหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ 54 คน จาก บริษัทมหาชนจำกัด ประเภทผลิตกรรม 252 คน และจากบริษัทมหาชนจำกัด ประเภทให้บริการ 138 คน รวม 444 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นมาตรประมาณ ค่าแบบลิเคิร์ท ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่โดยวิธี Least Significant Difference (LSD) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ตรวจสอบภายในมีท้ศนคดิต่อองค์ประกอบของการควบคุม ภายในตามแนว COSO โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก (2) การวิเคราะห์ เปรียบเทียบทัศนคติของผู้ ตรวจสอบภายในที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด ประสบการณ์การทำงาน และระยะเวลาใน การปฎิบัติงานตรวจสอบภายใน แตกต่างกันมีทัศนคติต่อการควบคุมภายในตามแนว COSO แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่ผู้ตรวจสอบภายในที่สังกัดหน่วยงานต่าง ประเภทกันมีทัศนคติไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ปัญหาและ อุปสรรคเกี่ยวกับองค์ประกอบของการควบคุมภายในตามแนว COSO ที่นำมาใช้ในองค์กรโดย เฉลี่ย อยู่ในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการตรวจสอบภายในth_TH
dc.titleทัศนคติของผู้ตรวจสอบภายในต่อการควบคุมภายในตามแนว COSOth_TH
dc.title.alternativeAttitudes of internal auditors to COSO'S internal control approachth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were threefold: (1) To study the attitudes of internal auditors to COSO's internal control approach; (2) To compare the different among the internal auditors’ attitude which dependent upon various parameters involving sex, age, education background, work experience, internal audit experience and type of organization; and (3) To study the problem and threat of internal auditors for The sample used in this study were 444 internal auditors consisting of 54 internal auditors from state enterprise. 252 internal auditors from manufacturing listed public companies and 138 internal auditors from service listed public companies. The Likert rating scales questionnaire 1 developed by the researcher, was used as the tool in collecting the data. The SPSS for Windows software had been applied to analyzes and approach such as percentage, mean , standard deviation, t -test, one-way ANOVA and Multiple Comparisons with Least Significant Difference lest (LSD) were used and The results showed that (1) Internal auditors attitudes to COSO's internal control approach were in very good level as average. (2) Differences in internal auditors attitudes which resulted from differences in sex, age. education background 1 work experience and internal audit experience were significant (p < 0.05) 1 differences เก type of organization did not account for difference เก attitudes. (3) Problem and threat for using COSO's internal control approach in organization were เก a medium level as avergeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77171.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons