Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7635
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระ ประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | สุรชัย ประนมศรี | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-13T03:04:53Z | - |
dc.date.available | 2023-07-13T03:04:53Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7635 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การประเมินผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ใน 4 ด้าน คือ ด้านการเงิน ด้านกระบวนการภายในองค์การ ด้านประชาชนผู้รับบริการ และด้านการเรียนรู้และพัฒนาองค์การ (2) ศึกษาปัญหาการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ประชากร คือ พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานใน อบต.แม่ปะ จำนวน 45 คน ศึกษาจากประชากรทั้งหมด และประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน 11 หมู่บ้านของตำบลแม่ปะ จำนวน 7,229 คน กลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง จำนวน 400 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบประเมินการปฏิบัติงาน แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา โดยการวิเคราะห์สรุปและวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากเอกสารและการสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยสอิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี้ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาพบว่า (1) ผลการปฏิบัติงานด้านการเงิน องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะ มีรายรับมากกว่ารายจ่ายทุกปีงบประมาณตั้งแต้ปี 2549-2552 โดยรายรับที่สูงกว่ารายจ่ายเกิดจากเงินอุดหนุนจากภาครัฐ ด้านกระบวนการภายใน มีเกณฑ์การดำเนินงานได้คะแนนร้อยละ 91.76 อยู่ในระดับดี ด้านประชาชนผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานและภาพรวมขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะในระดับดี ด้านการเรียนรู้และการพัฒนาพบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะมีการพัฒนาบุคลากรเพิ่มความรู้และทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ในระดับดี (2) ปัญหาของการดำเนินงานปัญหาด้านการเงิน รายได้ที่จัดเก็บไม่เพียงพอต่อการพัฒนาท้องถิ่นตามแผนพัฒนาให้ครบทุกโครงการ ปัญหาด้านกระบวนการภายใน การจัดการดำเนินโครงการไม่สมดุลกับขีดความสามารถขององค์การบริหารส่วนตำบลทำให้ไม่สามารถดำเนินโครงการพัฒนาครบล้วนตามแผน ปัญหาด้านประชาชนผู้รับบริการ ประชาชนยังขาดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ปัญหาด้านการเรียนรู้ และการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลยังไม่มีความเข้าใจในการจัดอบรมสัมมนาว่าต้องการให้เกิดผลเช่นไร ขวัญและกำลังใจก็เป็นผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบล (3) ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้านการเงิน องค์การบริการส่วนตำบลแม่ปะควรมีการวางแผนการใช้จ่ายให้ตรงตามความจำเป็นเร่งด่วนของท้องถิ่น ด้านกระบวนการภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะควรกำหนดแนวทางมีการระดมความคิดเห็นของประชาชน เพื่อกำหนดแนวทางในการพัฒนา โดยคำนึงถึงศักยภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอย่างแท้จริงควรมีการตรวั้จสอบความจำเป็นและคุ้มค่าของโครงการพัฒนาด้านประชาชนผู้รับบริการประชาชนผู้รับบริการประชาชนองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะควรมีการเพิ่มการประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะควรมีการเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรอยู่เสมอโดยจัดให้มีการฝึกอบรมตลอดจนฝึกทักษะในการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ให้ทันต่อเหตุการณ์ลื่มความทันสมัยของอุปกรณ์เครื่องใช้อยู่เสมอสวัสดิการของผู้ปฏิบัติงานก็มีส่วนสำคัญในการเติบโตขององค์การ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.217 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--การประเมิน | th_TH |
dc.title | การประเมินผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of Mea-Pa sub district administrative organization Mea-Sot district, Tak province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.217 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.217 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research aimed to: (1) evaluation the performance of Mae Pa Sub-district Administrative Organization (Vac Pa SAO), Mae Sot District, Tak Province, in four aspects. These were financial aspect; internal anagement ;recipients of public service aspect; and organizational capability development. (2) study the management obstacles of Mae Pa SAO, Mae Sot District, Tak Province . (3) provide guidance for those operation problems at Mac Fa SAO, Mac Sot District, Tak Province. P opulation far the study consisted of 45 officers from Mae Pa SAO and 7 J29 eligible voters from 11 villages in sub-district of Mae Pa. Samples are 400 eligible voters derived from Yamane’s formula. The data was collected through performance assessment inquiry form, interview and questionnaire. Analysis of data was completed with Content Analysis, Analytic Induction and Constant Comparison of collecting information from the paperwork and interview. Descriptive was another tool for this survey, which comprised mean, percentage an standard deviation. The study revealed as below: (1) Mae Pa SAO working performance: Firstly, financial performance; the organization revenues were over expenditures each fiscal year since 2006 to 2009. This was a result of government subsidization. Next, internal management performance: Mae Pa workplace achieved at 91.76 percent (good level).Thirdly. SAO service recipients’ satisfaction; they satisfied with organization service. Overall operation of Mae Pa SAO showed well performed. Lastly, organization capability development; Mac Pa provided effective operating system in strengthening their officers with wording knowledge and skill. (2) Management obstacles: It was found that Mae Pa revenues were not sufficient to complete the local development plan for all projects. ๒ addition, the internal project management capability was not balanced with the organization potential and could nor complete the scheme plan. Furthermore, local people Mae Pa Sub-district area did not realize a role of organization staffs. Moreover, the objectives of capacity-building and capability development were still blind. Moral support was considered as another effective aspect towards SAO officer working performance. (3) Recommendations for problems above were as follow: First of all, Mae Pa SAO should pay respect to the local expenditures priority. Secondly, the interna] running activity required a proper guideline development based on sub-district organization potential and public opinion mobilization. Necessity and worthiness examination of development project on SAO callers was requisite as well. Heightening public awareness of the clear roles and responsibilities of the Sub-district employees by public relation activity was necessary too. Finally, Mae Pa SAO should boost their existing officers’ ability regularly by training. The organization should also pay attention to skills in tools I King instruction and office equipment modernizing frequently. Revision of worker welfare needed to be focused and carried out as it played an important role in organization growth. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รสคนธ์ รัตนเสริมพงศ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118926.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License