Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรุณี หรดาล-
dc.date.accessioned2022-08-18T10:01:23Z-
dc.date.available2022-08-18T10:01:23Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2560), หน้า 100-112th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/764-
dc.description.abstractพัฒนาการด้านร่างกายเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกาย การเจริญเดิบ โต และความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการทำงานประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ในการเคลื่อนไหวที่เด็กวัยนี้ใช้เป็นเครื่องมือในการสำรวจตนเองและโลกรอบตัว การส่งเสริมและพัฒนาด้านร่างกายให้แก่เด็กปฐมวัยนอกจากจะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตมีโครงสร้างพื้นฐานของร่างกายสมวัยแล้วยังช่วยเสริมสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อให้แข็งแรงทำงานได้อย่างประสานสัมพันธ์กันช่วยการเชื่อมโยงของเซลล์ประสาท กระตุ้นการทำงานของสมองน้อย และยังช่วยเตรียมความพร้อมในการเขียนให้แก่เด็ก การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาด้านร่างกายให้แก่เด็กปฐมวัยควรมีความเหมาะสมกับวุฒิภาวะหรือความพร้อมของแต่ละบุคคลโดยมีแนวทางการจัดที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คำนึงถึงความปลอดภัยและให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข รวมถึงการเปิดโอกาสให้พ่อแม่ผู้ปกครอง เข้ามามีส่วนร่วม ทั้งนี้ กิจกรรมที่จัดกวรให้ครอบคลุมทั้งด้านสุขภาพอนามัย การใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กโดยเลือกใช้กิจกรรมและสื่ออุปกรณ์ที่หลากหลายให้สอดคล้องกับลักษณะของกิจกรรมth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectเด็ก -- การเจริญเติบโตth_TH
dc.titleพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย : แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาth_TH
dc.title.alternativePhysical development of pre-school children : guidelines for enhancement and developmentth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativePhysical development is a process of changes in physical structure, growth, abilities to use gross motor and fine motor, and the coordination of various muscles in movement which children of this age use in exploration of themselves and their surrounding environment. Enhancement of physical development of preschool children not only enables them to grow with basic physical structure appropriate to their age, but also strengthens their bones and muscles for proper functioning and coordination, facilitates the connection of neurological cells, motivates the functions of the cerebellum, and facilitates readiness for writing of pre-school children. The provision of experience for physical development of pre-school children should be appropriate with the maturity or readiness of each individual child and should be based on the learner-centered approach with consideration on safety and the principle of enabling the children to learn happily. It should also allow for participation of the parents or guardians. As such, the organized activities should cover the enhancement of health, and the uses of gross motor and fine motor. A variety of activities can be chosen to organize with the uses of various media and equipment for themen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44338.pdfเอกสารฉบับเต็ม362.43 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons