Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7664
Title: | ผลการใช้วิธีการสอนแบบโครงงานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องพืชของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านเบตง "สุภาพอนุสรณ์" จังหวัดยะลา |
Other Titles: | Effects of using the project approach on science learning achievement on the topic of plants of Prathom Suksa III students at BanBetong "Suphap-Anusorn" School in Yala province |
Authors: | บัญชา แสนทวี เยาวรัตน์ จันทราวิสุทธิ์, 2514- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ยะลา การสอนแบบโครงงาน วิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน |
Issue Date: | 2546 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องพืช ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังเรียน ด้วยวิธีการสอนแบบโครงงาน และ (2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ด้วยวิธีการสอนแบบโครงงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2547 โรงเรียนบ้านเบตง" สุภาพอนุสรณ์” จังหวัดยะลา จำนวน 30 คน ได้มาโดยการ เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการสอนที่ใช้วิธีการสอนแบบโครงงาน เรื่อง พืชแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียน ด้วยวิธีการสอนแบบโครงงานวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ด้วยวิธีการสอนแบบโครงงานในระดับ มากที่สุด |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7664 |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_82608.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License