Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7671
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสาวภา มีถาวรกลุ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดุสิต หลิมเจริญ, 2496--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T06:49:44Z-
dc.date.available2023-07-13T06:49:44Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7671-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา(1) ศึกษาปัจจัยการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลมือสองในเขตจังหวัดจันทบุรี (2) ศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อรถยนต์บรรทุก ส่วนบุคคลมือสองของผู้บริโภค และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางประชากรศาสตร์กับปัจจัยการ ตลาด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วยผู้ครอบครองรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลมือสองในเขตอำเภอ เมืองจันทบุรี 125 คน และนอกเขตอำเภอเมืองจันทบุรี 161 คน รวม 286 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม เกี่ยวกับปัจจัยการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลมือสองในเขตจังหวัด จันทบุรี และพฤติกรรมของผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อ ค่าความเชื่อมั่นในส่วนของปัจจัยการตลาดมีค่าเท่า กับ 0.88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคมากที่สุด คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ กลุ่มผู้บริโภคส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย อายุ 20 – 30 ปี อาชีพพนักงานบริษัท ร้านค้าเอก ชน การศึกษาระดับ ปวส. หรือ อนุปริญญา ถึง ปริญญาตรี มีรายได้ตั้งแต่ 5,000 – 10,000 บาท สถานภาพ สมรสแล้ว วัตถุประสงค์ในการซื้อรถยนต์เพื่อใช้เป็นพาหนะในการทำงาน โดยนิยมรถยนต์บรรทุกส่วน บุคคล ยี่ห้อ อีซูซุ และ โตโยต้า นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจัยการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัด จำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด มีความสัมพันธ์กับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectรถยนต์ -- การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลมือสองในเขตจังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeInfluence of marketing factors for decision to buy used pick-up automobiles in Chanthaburith_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were mainly to measure which marketing mix was the most influence to purchase used pick-up automobiles, how population characteristics influenced the behavior to purchase used pick-up automobiles, and to study the correlation between population characteristics and all potential factors affecting the decision to purchase used pick-up automobiles. This research used questionnaire technique from 286 samples of prospective buyers and currently owners in Chanthaburi with the confidential value of 0.88. The statistical analysis were mainly scrutinized percentile and chi-square methods. One of the research findings showed that the most important marketing mix influencing the decision to purchase used pick-up car was product factor. Moreover, the results indicated that the most significant reason to purchase was for driving to work and the majority of buyers preferred Isuzu and Toyota to other brand names. Additionally, the research outcomes presented that the prospect’s characteristics were married persons whose age is between 20 and 30 years, whose occupation was company employee and entrepreneur, whose educational levels have been located between high level of vocational degree and bachelor degree, and whose earning income ranges have been between 5,000 and 10,000 Baht per month since their main reason to buy was for daily communtation. According to this research, the level of perceived participation of population characteristics and the most important marketing mix influencing the decision to buy used cars were found to be related at the .05 level of significanten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
78979.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons