Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักราวัฒน์ กฤษณจักราวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorกันยารัตน์ สถานทรัพย์, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-13T08:11:45Z-
dc.date.available2023-07-13T08:11:45Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7693en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีว้ตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาและวิเคราะห์ต้นทุนในการดำเนินงานของธนาคารออมสิน (2) ศึกษาและวิเคราะห์ผลตอบแทนในกาดำเนินงานของธนาคารออมสิน (3) ศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของธนาคารออมสิน วิธีการดำเนินการวิจัย เป็นการวิเคราะห์ต้นทุนเงินทุนแต่ละประเภท ได้แก่ ต้นทุนเงินฝาก ต้นทุนเงินกู้ยืม ต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยถ่วงนั้าหนัก ส่วนการวิเคราะห์ผลตอบแทนของธนาคารเป็นการวิเคราะห์ด้านผลตอบแทนเงินให้กู้ยืม ผลตอบแทนเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ผลตอบแทนเงินลงทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก นอกจากนั้นยังทำการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน เพื่อแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงานของธนาคารออมสิน ผลการวิจัยพบว่าในระหว่างปี 2539 ถึงปี 2543 (1) ต้นทุนเงินฝากของธนาคารออมสินประเภทเงินฝากสงเคราะห์ชีวิตอยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มเพื่มขึ้น ส่วนต้นทุนเงินฝากเผื่อเรียกพิเศษเงินฝากสลากออมสินพิเศษ และเงินฝากประจำอยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มลดลง ส่วนยอดคงเหลือ เงินทุนพบว่าเงินฝากเผื่อเรียกพิเศษซึ่งเป็นเงินรับฝากระยะสั้นมีสัดส่วนสูงสุด ซึ่งโดยรวมแล้วต้นทุนเงินทุนทั้งสิ้นถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักมีแนวโน้มลดลง (2) ผลตอบแทนเงินลงทุนของธนาคารออมสินประเภทเงินให้สินเชื่ออยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มลดลง ส่วนยอดคงเหลือเงินลงทุนพบว่ามีการปรับสัดส่วนเงินลงทุนดังนี้คือ ในปี 2539 - 2540 รายการระหว่างธนาคารซึ่งเป็นเงินลงทุนระยะสั้นมีสัดส่วนสูงสุด ปี 2541 - 2542 เงินให้สินเชื่อระยะยาวมีสัดส่วนสูงสุด ปี 2543 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ระยะยาวมีสัดส่วนสูงสุด ซึ่งโดยรวมแล้วผลตอบแทนเงินลงทุนทั้งสิ้นถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักมีแนาโน้มลดลง ส่วนโครงสร้างเงินทุนของธนาคารออมสิน ปี 2543 ส่วนใหญ่เป็นเงินรับฝากระยะสั้นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว เงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนในหลักทรัพย์ระยะยาวอัตราดอกเบี้ยคงที่ (3) ผลการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินพบว่าการดำเนินงานมีประสิทธิภาพ โดยมีความสามารถในการทำกำไรอยู่ในเกณฑ์ดี และมีแนวโน้มเพื่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานของธนาคารเองในรอบ 5 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2002.64en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectธนาคารออมสิน--การบริหารth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของธนาคารออมสินth_TH
dc.title.alternativeCost and return analysis of the Government Savings Banken_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2002.64-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2002.64en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study and analyze operating cost of The Government Savings Bank; (2) to study and analyze return on operating of the Government Savings Bank; (3) to study problem and threats of operation of the Government Savings Bank. The methodology of research used were analytical cost of each fund type such as cost of deposit fund, cost of loaning fund, cost of weighted average fund. The analytical of return on investment of the Bank were return on loan, return on investment in securities, return อก weighted average investment fund. Beside, Financial Ratio analysis were taken to show the operation’s efficiency of The Government Savings Bank. The research finding showed that year 1996 to 2000 (1) The Government Savings Bank's cost of Life Annuity Deposits was high and increased trend. Cost of Special Savings Deposits, Premium Savings Certificates and Fixed Deposits were high and decreased trend. The proportion of special Savings Deposits, short-term fund, were highest. เท overall, total Weighted Average cost of fund had average trend of reducing. (2) Return of The Government Savings Bank showed that loans giving good return and decreased trend. The proportion of investment were changed. เท the year 1996 to 1997 inter-bank and money market items, Short-term, had highest proportion. เก the year 1998 - 1999 long-term Loans had highest proportion. เท the year 2000 long-term Investment in Securities had highest proportion. overall, total Weighted Average return on operating had average trend of reducing. เท the year 2000 the capital structure of The Government Savings Bank were short-term deposits, float rate, in highest proportion and used of fund went to long-term investment in securities, fixed rate, in highest proportion. (3) Financial ratio analysis showed that The Government Savings Bank was efficient in operating. The Profitability were good and had increased trend by compared with it's own financial ratios around 5 years from 1996 to 2000.en_US
dc.contributor.coadvisorฐาปนา ฉิ่นไพศาลth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
78984.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons