Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7718
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ศยาภรณ์ มีแสงแก้ว, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-14T02:57:04Z | - |
dc.date.available | 2023-07-14T02:57:04Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7718 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจที่มีต่อการปฏิบัติงานของพนักงานร้านเซเว่น-อีเลฟเว่น จังหวัดสระบุรี (2) เปรียบเทียบแรงจูงใจที่มีต่อการปฏิบัติงานของพนักงานร้าน เซเวน่ -อีเลฟเวน จังหวัดสระบุรี จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือพนักงานร้านเซเว่น อีเลฟเว่น จังหวัดสระบุรี จำนวน 250 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบโควตา เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า (1) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานร้านเซเว่น อีเลฟเว่น จังหวัดสระบุรี โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าระดับแรงจูงใจอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสถานภาพ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะของงาน ด้านการได้รับ การยอมรับนับถือ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านนโยบายการทำงาน ด้านสภาพการทำงานด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านความมั่นคงในงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านการบังคับบัญชา ส่วนระดับแรงจูงใจที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านค่าตอบแทน (2) พนักงานที่มีคุณลักษณะส่วนบุคคลด้านสถานภาพและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีคุณลักษณะส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ รายได้ต่อเดือน ระยะเวลาในการทำงานและ ระดับงานที่แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การจูงใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.title | แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานร้านเซเว่น อีเลฟเว่น จังหวัดสระบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Working motivation of 7-Eleven's employees in Saraburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to determine the level of working motivation of 7-Eleven’s employees in Saraburi province; and (2) to compare the level of working motivation of 7-Eleven’s employees in Saraburi province classified by personal characteristics. Population was 250 employees of 7-Eleven located in Saraburi province. The sample consisted of 154 employees derived from a quota sampling method and calculated by Yamane’s formula. Questionnaires were used for data collection as well as the descriptive statistics – percentage, mean, standard deviation, t-Test; One-Way ANOVA and Least Significant Difference were used for data analysis. The study indicated that (1) the employees of 7-Eleven in Saraburi province had working motivation at high level overall. Marital status, job promotion, job description, recognition, achievement, working policy, working conditions, staff relationship, working security, responsibility and commanding were the high level of motivation factors whereas revenue was considered at the middle level; and (2) the employees with different marital status and educational background had no differences in working motivation while the employees with different sex, age, monthly income, working experiences and job position had different working motivation with statistically significant at the 0.05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
139306.pdf | 14.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License