Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7752
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศรินทิพย์ ใจสม, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T04:34:26Z-
dc.date.available2023-07-14T04:34:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7752-
dc.description.abstractการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เปรียเทียบระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการธำรงอยู่ของพนักงานบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (2) เปรียเทียบระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการธำรงอยู่ของพนักงานบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด จำแนกตามปัจจัยเกี่ยวกับงาน (3) ปัจจัยเกี่ยวกับองค์การที่มีผลต่อการธำรงอยู่ของพนักงาน บริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ พนักงานของบริษัทไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัดจำนวน 346 คน ไม่รวมนักบินและลูกเรือ คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 186 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม 30สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 30ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ค่าเอฟ และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า (1) พนักงานที่มีเพศ อายุ สถานภาพ และระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการธำรงอยู่ของพนักงานบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด ไม่แตกต่างกัน (2) พนักงานบริษัท ไทยสมาย์แอร์เวย์ จำกัด ที่มีฝ่ายที่สังกัด และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการธำรงอยู่ของพนักงานบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยองค์การ ได้แก่ ด้านผลตอบแทนและสวัสดิการมีผลต่อการธำรงอยู่ของพนักงาน บริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด สามารถอธิบายความผันแปรของการธำรงอยู่ของพนักงานบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด คิดเป็นร้อยละ 19.60th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท ไทยสมายล์แอร์แวย์--พนักงานth_TH
dc.subjectการธำรงรักษาพนักงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการธำรงอยู่ของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting employee retention: a case study of Thai Smile Airways Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims (1) to compare the opinion level toward employee retention of Thai Smile Airway Company Limited, categorized by individual factors; (2) to compare the opinion level toward employee retention of Thai Smile Airway Company Limited, categorized bywork-related factors; and (3) to study organizational factors affecting employee retention of Thai Smile Airway Company Limited. This study was a quantitative research. The studied population was 346 employees of Thai Smile Airways Company Limited, excluding pilots and crew. The samples are determined by using Taro Yamane’s Formula to acquire the sample size of 186 samples, using stratified random method. A questionnaire is used as a tool for data collection. Statistics used in data analysis consist of frequency, percentage, mean, and standard deviation, t-Test, One-Way ANOVA, and multiple regression analysis. This study found that (1) theemployeeswith different gender, age,marriage status and level of education had no statistically significant difference in employee retention of Thai Smile Airways Company Limited. (2) The employees of Thai Smile Airways Company Limited with different affiliation and average monthly salary had statistically significant difference in employee retention. (3) Organizational factors in terms of compensation and welfare had affected employee retention of Thai Smile Airway Company Limited and jointly predicts on employee retention at 54.70 %en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons