Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7756
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธาดา สุทธะ, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T05:57:34Z-
dc.date.available2023-07-14T05:57:34Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7756-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการค้าของสำนักงานพาณิชย์จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมการส่งเสริมการค้าของสำนักงานพาณิชย์จังหวัดตาก (2) เสนอยุทธศาสตร์ กลยุทธ์โครงการ การส่งเสริมการค้าของสำนักงานพาณิชย์ จังหวัดตาก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์แบบมี โครงสร้าง ประชากรที่ศึกษาจำนวน 20 คน ได้แก่ ข้าราชการสำนักงานพาณิชย์จังหวัดตากจำนวน 15 คน และ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัดตากจำนวน 5 คน โดยผู้ศึกษาเป็นผู้สัมภาษณ์เอง และเก็บข้อมูลโดย ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา โดยการวิเคราะห์สรุปข้อมูลที่ได้จาก การศึกษาเอกสาร และข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์และประเด็นการสนทนากลุ่ม โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis และตาราง TOWS MATRIX ผลการวิจัย พบว่า (1) สภาพแวดล้อมของการส่งเสริมการค้าของสำนักงานพาณิชย์จังหวัดตาก มีจุดแข็งคือ บุคลากรมีความรู้ความสามารถ และความรู้ความเข้าใจในยุทธศาสตร์กระทรวงและจังหวัดเป็นไปในทิศทางเดียวกันได้รับจัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ จุดอ่อน คือ บุคลากรขาดทักษะทางด้าน ภาษา การบริหารของสำนักงานพาณิชย์จังหวัดอยู่ภายใต้จังหวัด กระทรวง บางสถานการณ์ไม่สามารถตัดสินใจได้เอง ด้านโอกาส รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาการค้าชายแดน และนโยบายการจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษตาก ด้านอุปสรรค ภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัวส่งผลกระทบกับประเทศไทยเนื่องจากเศรษฐกิจของไทยพึ่งพาการส่งออกมากกว่าการบริโภคภายในประเทศ (2) ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการค้าของสำนักงานพาณิชย์จังหวัดตาก ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างทีมการค้าจังหวัดตากเพื่อเชื่อมโยงการค้าสู่สากลยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาตลาดและยกระดับการค้าสู่สากล ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขับเคลื่อน เศรษฐกิจของจังหวัดด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมการค้าชายแดน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างภูมิคุ้มกนเพื่อรักษาฐานการตลาดสินค้าเศรษฐกิจหลักของจังหวัดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการค้ากับต่างประเทศth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleยุทธศาสตร์การส่งเสริมการค้าของสำนักงานพาณิชย์ จังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeStrategies for trade promotion of Office of Commercial Affairs of Tak Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research entitled Strategies for Trade Promotion of Office of Commercial Affairs of Tak Province aimed to (1) analyze environments of trade promotion of Office of Commercial Affairs of Tak Province ( 2) propose the strategies or tactics for trade promotion of Office of Commercial Affairs of Tak Province. This study was qualitative research. Research instrument was a structured questionnaires. Population was 20 samples including 15 officials working for Office of Commercial Affairs of Tak Province and 5 experts who expertized in economics of Tak Province. The interviewing was conducted by the researcher himself. Data collection were accumulated by focus group method. The collected data were analyzed by contents analysis by using SWOT and TOWS Matrix analysis. The results showed that (1) environments of trade promotion of Office of Commercial Affairs of Tak Province were the strengths: personnel had knowledge proficiency and clearly understanding the conformity of strategies both of the ministry and the province and the Office received budgets in accordance with the strategies. The weaknesses were that personnel lacked language skills and administration of the Office was under the supervision of Province and ministry so that the decision making could not made properly in some circumstances. The opportunities were that the government supported border trade development as well as the establishment of Tak Special Economic District. The threats were that the world economics deceleration which affected Thailand due to the fact that its economy depended on exporting more than domestic consuming ( 2) Proposal for trade promotion strategies of Office of Commercial Affairs of Tak Province comprised of 5 strategies as follows; Strategy No.1: building up a team of Office of Commercial Affair of Tak Province to the global trade. Strategy No 2: market developing and upgrading them to the global trade. Strategy No.3: economic driving with digital technology. Strategy No.4: border trade promotion and Strategy No. 5: Strengthening immunity to maintain the main product markets of Tak provinceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltecxt_150997.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons