Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7767
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจริญศักดิ์ แสงฉัตรสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorกิตติมา เหมทานนท์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-14T06:58:05Z-
dc.date.available2023-07-14T06:58:05Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7767en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษานี้คือ เกษตรกรผู้ใช้บริการสินเชื่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณภาพการบริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดสงขลา และ (2) เปรียบเทียบคุณภาพการบริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดสงขลา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล เงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดสงขลา ที่ยังคงมีสถานะเป็นลูกหนี้ จำนวนทั้งสิ้น 259 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ด้วยสูตรของยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 158 ราย และใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที ค่าเอฟ และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีแอลเอสดี ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพการบริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดสงขลา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ การทำให้ลูกค้ามั่นใจ การเข้าใจลูกค้า การตอบสนองลูกค้าทันที ความเชื่อถือไว้วางใจได้ของการบริการ และความเป็นรูปธรรมของการบริการ ตามลำดับ และ (2) เกษตรกรที่มีเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา จำนวนค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการลงทุนทำการเกษตรในแต่ละปี จำนวนเงินกู้ที่ได้รับ และระยะเวลาที่ใช้บริการขอเงินกู้สินเชื่อ ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการบริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสำนักงานการปฏิรูปที่ดิน จังหวัดสงขลา ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าเกษตรกรที่มีค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการลงทุนทำการเกษตรในแต่ละปีที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพบริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ของการบริการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ เกษตรกรที่มีระยะเวลาที่ใช้บริการขอเงินกู้สินเชื่อ ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพบริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดสงขลา--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectสินเชื่อเกษตร--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการบริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeService quality for Agricultural Land Reform Fund Credit of Songkhla Provincial Agricultural Land Reform Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are: (1) to study service quality of Agricultural Land Reform Fund Credit of Songkhla Provincial Agricultural Land Reform Office, and (2) to compare the service quality of Agricultural Land Reform Fund Credit of Songkhla Provincial Agricultural Land Reform Office, classified by personal factors. This study was a survey research. The population used in this study was agriculturalists who are the loan service users of the Agricultural Land Reform Fund of Songkhla Provincial Agricultural Land Reform Office, with the existing debtor status, as a total of 259 persons. The sample size was calculated using Yamane's Formula and 158 samples were acquired using purposive sampling method. The instruments used in data collection was questionnaire. The statistics used in data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Pairwise Comparison using LSD Method. The results indicated that (1) the overall service quality of Agricultural Land Reform Fund Credit of Songkhla Provincial Agricultural Land Reform Office was at a high level. Upon consideration on each individual aspect, all aspects consisting of customer confidence, customer understanding, immediate customer response, service reliability, and service objectivity, were at a high level respectively. (2) The agriculturalists with the different gender, age, status, educational level, amount of yearly expenses used in agricultural investment, amount of acquired loan, and loan service duration, had no different opinions on the service quality of the Agricultural Land Reform Fund Credit of Songkhla Provincial Agricultural Land Reform Office. Upon consideration on each individual aspect, the agriculturalists with different yearly expenses used in agricultural investment had different opinions on the service quality of the Agricultural Land Reform Fund Credit in a service reliability aspect at 0.05 statistical significance level. The agriculturalists with the different loan service duration had different opinions on the service quality of the Agricultural Land Reform Fund Credit in a service objectivity aspect at 0.05 statistical significance level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons