Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7777
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บริบูรณ์ ปิ่นประยงค์ | th_TH |
dc.contributor.author | อมรพรรณ ศรีเพชร | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-14T07:21:03Z | - |
dc.date.available | 2023-07-14T07:21:03Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7777 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการบริโภคสลัดผักเพื่อสุขภาพในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคสลัดผักเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการบริโภคสลัดผักเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ผู้บริโภคอายุระหว่าง 13-70 ปี ที่บริโภคสลัดผักเพื่อสุขภาพในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง ณ เดือนพฤศจิกายน 2561 จำนวน 700 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรของ เครซี่ และมอร์แกน ได้ 258 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเลือกทานอาหารประเภทสลัดผัก เพราะต้องการควบคุมน้ำหนัก บริโภค 1-3 ครั้งต่อเดือน โดยจะซื้อ/บริโภคตามที่สะดวกในช่วงเย็น (หลัง 13.30 น.) ไม่มีร้านประจำ นิยมรับประทานสลัดเป็นสลัดเคียง ราคาเฉลี่ยต่อครั้ง 41 – 60 บาท (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคสลัดผักเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง อยู่ในระดับมาก และ (3) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการบริโภคสลัดผักเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--การตัดสินใจ | th_TH |
dc.subject | ผัก--แง่โภชนาการ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--ตรัง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการบริโภคสลัดผักเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง | th_TH |
dc.title.alternative | Consumer behavior towards healthy vegetable salad at Mueang District in Trang Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to study (1) consumer behavior towards healthy vegetable salad at Mueang District in Trang Province (2) the marketing mix factor influencing consumer behavior towards healthy vegetable salad at Mueang District in Trang Province, and (3) the relationship between marketing mix factor and consumer behavior towards healthy vegetable salad at Mueang District in Trang Province. The population of this survey research were healthy vegetable salad consumers at Mueang District in Trang Province aged between 13-70 years as of November 2018, totaling 700 people. Sample size of 258 was calculated by Krejcie and Morgan sampling method and selected by accidental sampling. The data were collected using questionnaire and analyzed by descriptive statistics: frequency, percentage, mean and standard deviation together with inferential statistics: Chi-square. The results of this study revealed that: (1) the reason why most of the respondents choose to consume healthy vegetable salad was to control weight. They mostly consumed healthy vegetable salad for 1-3 times/month at their convenience without regular store/restaurant. The average price was 41-60 THB, (2) the marketing mix factor influencing consumer behavior was at high level, and (3) there is the relationship between marketing mix factor and consumer behavior towards healthy vegetable salad with a statistical significance level of 0.05. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
160378.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License