Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7799
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จำเนียร ราชแพทยาคม | th_TH |
dc.contributor.author | มัณฑณา สนธิสุข, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-14T08:27:44Z | - |
dc.date.available | 2023-07-14T08:27:44Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7799 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาและวิเคราะห์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน และ (2) ศึกษาปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ข้าราชการพลเรือนของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงานส่วนกลาง โดยเลือกแบบเจาะจงจำนวน 24 คน ที่ครองตำแหน่งผู้อำนวยการกลุ่มงานภายในสำนักต่าง ๆ ของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน และมีบทบาทเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง แบบบันทึกการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาโดยวิธีการสรุปอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า (1) กระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ได้แก่ การหาความจำเป็นในการพัฒนาบุคลากร การวางแผน การพัฒนา และการติดตามประเมินผล มีการกำหนดแนวทางในการพัฒนาบุคลากร โดยพัฒนาขีดความสามารถ ศักยภาพ หรือคุณลักษณะของบุคลากรที่มีความโดดเด่นและลักษณะเฉพาะที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานในตำแหน่งงานนั้น ๆ และการเพิ่มพูนทักษะให้กับบุคลากร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักธรรมาภิบาล ทั้ง 6 หลัก ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า พบว่า สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงานได้นาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเกิดผลสัมฤทธิ์แก่องค์การ และ (2) ปัญหาที่พบ คือ มีบุคลากรบางคนขาดความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมาภิบาลอย่างถูกต้องในการนำมาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาบุคลากร ส่วนข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานปลัดปลัดกระทรวงแรงงาน ควรดำเนินการดังนี้ ด้านการฝึกอบรม ควรส่งเสริมความรู้ในการปฏิบัติงานและองค์ความรู้ใหม่ให้แก่บุคลากร ด้านเสริมสร้างสมรรถนะ ควรพัฒนาทักษะที่จำเป็นในอนาคต รวมทั้งสนับสนุนให้บุคลากรมีแผนพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ และปลูกฝังจิตสำนึกธรรมาภิบาล เพื่อให้บุคลากรมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | ธรรมรัฐ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน | th_TH |
dc.title.alternative | Human resource development according to the good governance principles of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labour | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed (1) to study and analyze human resource development according to the good governance of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labour, and (2) to study the problems and suggest guidelines for human resource development according to the principles of Good Governance of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labour. This study was a qualitative research. The key informants were 24 officials of the Office of the Permanent Secretary, the Ministry of Labour by purposive sampling method with the internal and relevant directors who involved with human resources management work. The research instruments comprised of in-depth structured interview form, participative observation form. The data analysis employed inductive content conclusion. The findings revealed that (1) Human resource development processes of the Office of the Permanent Secretary for Labour were as follows: Identifying the need for human resource development, planning, implementation and monitoring and evaluation. There were guidelines for personnel development by developing the competence, potential or characteristics of personnel who were outstanding and unique characteristics that were related to the performance of the positions as well as to enhance the skills of personnel. The human resource development according to the six principles of good governance, namely the rule of law, the principle of morality, the principle of transparency, the principle of participation, the principle of responsibility and the principles of value-for-money, it showed that the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labour has applied all six good governance principles in the development of personnel of the agency, in order to operate with efficiency, effectiveness and achievements of the organization (2) The main problem encountered was some of the personnel lacked knowledge and understanding of the principles of good governance in order to apply them to their operations. Recommendation guidelines for human resource development of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labour should implement such as; training aspect: there should encourage modern knowledge, competency aspect: there should develop of future competence and skills as well as individual development plan in various contents, and the good governance perspective to encourage the personnel to be responsible for themselves and society. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License