Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7804
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย | th_TH |
dc.contributor.author | อารดา อาระยะกุล, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-14T08:40:14Z | - |
dc.date.available | 2023-07-14T08:40:14Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7804 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จำนวน 278 คน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 165 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านสามารถเรียงลำดับจากมาก ไปหาน้อยได้ ดังนี้ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ และด้านการกระตุ้นทางปัญญา ตามลำดับ (2) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านสามารถเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ ด้านความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่างมากเพื่อองค์การ ด้านความเชื่อมั่นอย่างแรงกล้าและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ และด้านความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะรักษาไว้ซึ่งความเป็นสมาชิกขององค์การ ตามลำดับและ (3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารมีความสัมพันธ์ต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว | th_TH |
dc.title.alternative | Administrators’ transformational leadership affecting organizational commitment of the Personnel in the Department of Women’s Affairs and Family Development | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were: (1) to study the level of transformational leadership of administrators in the Department of Women’s Affairs and Family Development, (2) to survey level of the organizational commitment of the administration organizations’ personnel in the Department of Women’s Affairs and Family Development, and (3) to investigate the relationship between administrators’ transformational leadership and organizational commitment of the personnel in the Department of Women’s Affairs and Family Development. The study was a survey research. The population was 278 staff members of the Department of Women’s Affairs and Family Development, Ministry of Social Development and Human Security. The sample size obtained 165 samples, calculated by using Taro Yamane’s formula. A questionnaire was used as the research tool. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s Correlation coefficient analysis. The finding revealed that (1) the level of transformational leadership of administrators in the Department of Women’s Affairs and Family Development was at a high level. When considering each aspect, they could be arranged in descending order as follow: Idealized Influence, Respect in Individualism, Inspirational Motivation and Intellectual Stimulation (2) the level of the organizational commitment of the personnel in the Department of Women’s Affairs and Family Development was at a high level. When considering each aspect, they could be arranged in descending order as follow: Willing to work hard for organization, Strong trust and respect of organizational gold and value, and Concrete willing of maintaining organizational membership (3) administrators’ transformational leadership had a correlation with the organizational commitment of the personnel in the Department of Women’s Affairs and Family Development at 0.01 statistical significance level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License