Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/783
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทองหล่อ เดชไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา ผลประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทิพทิยา เกาะประเสริฐ, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T02:59:22Z-
dc.date.available2022-08-20T02:59:22Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/783-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาต้นทุนกิจกรรมบริการของหน่วยสวนหัวใจ โรงพยาบาลในสังกัดของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลถูกจัดเก็บจากกิจกรรมก่อนตรวจสวนหัวใจ ขณะตรวจสวนหัวใจ และหลังตรวจสวน หัวใจของผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่มารับบริการของหน่วยสวนหัวใจในระหว่างเดือนมกราคม - มีนาคม 2550 จํานวน 317 ราย โดยการวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมด้วยการกระจายต้นทุนกิจกรรมบริการทางตรงและกิจกรรมบริการทางอ้อม กิจกรรมบริการทางตรงแบ่งเป็นกิจกรรมการประเมินผู้ป่วยก่อนตรวจสวนหัวใจ ขณะตรวจสวนหัวใจ และหลังตรวจสวนหัวใจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 4 ชุด ชุดที่ 1 คือ แบบบันทึกข้อมูลประกอบด้วยแบบบันทึกปริมาณกิจกรรม แบบวิเคราะห์กิจกรรมบริการ แบบบันทึกต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์ ค่าสาธารณูปโภค และค่าหัตถการรายบุคคล ชุดที่ 2 ประกอบด้วยพจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาลหน่วยสวนหัวใจ ชุดที่ 3 คือ เกณฑ์การจำแนกประเภทผู้ป่วยที่ใช้บริการในหน่วยสวนหัวใจ และชุดที่ 4 คือ แบบบันทึกหน้าที่เจ้าหน้าที่ในหน่วยสวนหัวใจ สถิติที่ใช้คือค่าเฉลี่ยและร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า ต้นทุนรวมของกิจกรรมการบริการ คือ 4,748.40 บาทต่อการให้บริการผู้ป่วย 1 ครั้ง ต้นทุนเฉลี่ยค่าอุปกรณ์ในกรณีที่ทำบริเวณขาและแขน คือ 5281.10 บาทต่อครั้งต่อราย เมื่อวิเคราะห์ต้นทุนทางตรง พบว่า ต้นทุนเฉลี่ยกิจกรรมก่อนตรวจสวนหัวใจ คือ 399.03 บาท ต่อครั้งต่อคน ต้นทุนกิจกรรมขณะสวนหัวใจ คือ 4000 บาท ต่อครั้งต่อคนและต้นทุนกิจกรรมหลังตรวจสวนหัวใจ 219.53 บาทต่อครั้งต่อคน ต้นทุนรวมและต้นทุนกิจกรรมทางอ้อม คือ 1,859.89th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectบริการทางการแพทย์--ต้นทุนและประสิทธิผลth_TH
dc.subjectหัวใจ--โรค--การรักษาth_TH
dc.subjectต้นทุนและประสิทธิผลth_TH
dc.titleต้นทุนกิจกรรมบริการของหน่วยสวนหัวใจ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeActivity-based-costing unit of Cardiac Catheterization Laboratory in Hospitals under Bangkok Metropolitan Administrationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive research is to explore the activity-based - costing unit of cardiac catheterization laboratory in hospitals under Bangkok Metropolitan. Data was collected based on the activities of pre cardiac catheterization, in active cardiac catheterization and post cardiac cauterization during January - March 2007 among 317 patient samples. Direct cost and indirect cost were allocated and analyzed by activity based-costing unit. The direct cost was the assessed patients of pre cardiac catheterization, in active cardiac catheterization, and post cardiac cauterization. There were 4 sets of the instrument. The first set consisted of data recording forms including the quantitative activities form, services activities analysis form, labor cost form, material and cost depreciation form, utilities cost form, and medical fee form. The second set consisted of cardiac catheterization nursing dictionary. The third set was the criteria for patient classification using cardiac catheterization service. The fourth set was duty operation form by cardiac catheterization unit staff. Mean and percentage were used to analyze the data. The result shows that the average of direct and indirect cost was 4,748.40 baht per service per visit with no complications The average of material cost which 5.281.10 baht operated at the arm or leg area was 5,281.10 baht per service per visit. The analysis of an average cost of the pre cardiac, in active, and post cardiac catheterization were 399.03 baht, 407.00 baht, and 219.53 baht per service per visit respectivelyen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
102070.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons