Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7877
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายนที มั่นสลุง, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T07:45:44Z-
dc.date.available2023-07-17T07:45:44Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7877-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี 2) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 286 คน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งขั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาและแรงจูงใจในการสอนของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 และ .97 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรีในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ระดับแรงจูงใจในการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรีในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรีมีความสัมพันธ์ทางบวก อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .678 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--ลพบุรี--การบริหารth_TH
dc.subjectครู--ไทย--ลพบุรี--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between administration behaviors of school administrators and teaching motivation of teachers under the Secondary Educational Service Area Office Lop Burien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the level of administration behaviors of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Lop Buri; (2) to study the level of teaching motivation of teachers under the Secondary Educational Service Area Office Lop Buri; and (3) to study the relationship between administration behaviors of school administrators and teaching motivation of teachers under the Secondary Educational Service Area Office Lop Buri. The research sample consisted of 286 teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Lop Buri, obtained by stratified random sampling based on school size. The sample size was determined based on Taro Yamane’s Sample Size Table. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on administrative behaviour of school administrator and motivation for teaching of teacher, with reliability coefficients of .98 and .97 respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. The research findings showed that (1) both the overall and specific aspects of administration behaviors of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Lop Buri were rated at the high level; (2) both the overall and specific aspects of teaching motivation of teachers under the Secondary Educational Service Area Office Lop Buri were rated at the high level; and (3) administration behaviors of school administrators and teaching motivation of teachers under the Secondary Educational Service Area Office Lop Buri correlated positively at the moderate level with the correlation coefficient of .678, which was significant at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons