Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7881
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยาพร สาธร, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T07:54:04Z-
dc.date.available2023-07-17T07:54:04Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7881-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของผู้ ปฏิบัติงานฝ่ายบำรุงรักษาในด้านผลตอบแทนที่เป็นธรรม ด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัย ด้าน การพัฒนาศักยภาพในการทำงาน ด้านความมั่นคงและก้าวหน้าในงาน ด้านความสัมพันธ์ภาย ในองค์กร ด้านงานที่อิสระและท้าทาย และ ด้านความสมดุลในชีวิตงานและชีวิตส่วนตัว (2) ศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของผู้ปฏิบัติงานจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล อันได้ แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน อายุการทำงาน รายได้และกองงาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานฝ่ายบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จำนวน 1,003 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 278 คน ตามตารางสุ่มของเคร็จซีและมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบวัดระดับที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทำงานที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) การวิเคราะห์ความแปรปรวน ( ANOVA ) และการทดสอบด้วยวิธี ของ เชฟเฟ ( Scheffe’s Test ) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ปฏิบัติงานฝ่ายบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะมีคุณภาพชีวิตการ ทำงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผู้ปฏิบัติงานฝ่ายบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะที่มีลักษณะ บุคคลในเรื่อง อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน อายุการทำงาน รายได้ และกองงาน ที่แตก ต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ ผู้ ปฏิบัติงานฝ่ายบำรุงรักษาที่มี เพศ แตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตการทำงานที่ ไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงไฟฟ้าแม่เมาะ. ฝ่ายซ่อมบำรุงth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของผู้ปฏิบัติงานฝ่ายบำรุงรักษาการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย : กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าแม่เมาะth_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of maintenance emplolyee in the electicity generating authority of Thailand : a case study of Mac-Moh power plantth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study in the quality of work life of maintenance‘ s employee in Adequte and fair compensation , Safe and healthy , Development of human capacities , Growth and security , Social integration , freedom and itself in work and The balance of work and life (2) to study the compare in the quality of work life of maintenance ‘s employee such as sex , age , education , position , age of job , income and maintenance shop . The population was maintenance ‘s employee in the Mae- Moh power plant 1,003 persons . The sample was selected using Random table of kate c and morgan in 278 persons. Were given self-administered rating-scale questionnaires ( reliability level at 0.95 ) regarding their levels of participation in the implementation of annual operating plans. computer program was used to calculate the percentage , mean , standard deviation , ANOVA and the Scheffe’ s test. The results of this study were (1) The total of quality of work life in maintenance ‘ s employee in good case ; (2) The maintenance ‘ s employee who have different in age , education , position , age of job , income and maintenance shop would have the different in quality of work life in their perceived levels of participation (p<.05). The maintenance ‘ s employee who have different in sex will be quality of work life is not different at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82166.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons