Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7892
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวรรณี ยหะกร | th_TH |
dc.contributor.author | นิลุบล บัวงาม, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-17T08:23:52Z | - |
dc.date.available | 2023-07-17T08:23:52Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7892 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้แผนผังความคิดกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 จำนวน 9 คน แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของวิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จากนักเรียนที่มีความบกพร่องด้านการเขียนเพื่อการสื่อสาร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้แผนผังความคิด และ 2) แบบทดสอบความสามารถในการเขียนเพื่อการสื่อสาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมาย ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี หลังเรียนโดยใช้แผนผังความคิดสูงกว่าความสามารถดังกล่าวก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | แผนผังความคิด | th_TH |
dc.subject | การเขียน--การศึกษาและการสอน--ไทย--เพชรบุรี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้แผนผังความคิดที่มีต่อความสามารถในการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using mind mapping method on writing for communication ability of second year students in the Vocational Certificate Program of Ban Lat Industrial and Community Education College in Phetchaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to compare writing for communication abilities of second year students in the Vocational Certificate Program of Ban Lat Industrial and Community Education College in Phetchaburi province before and after learning from the instruction using the mind mapping method. The research sample consisted of 9 second year Vocational Certificate students in the Business Computer Program of Ban Lat Industrial and Community Education College in Phetchaburi province during the second semester of the 2019 academic year, purposively selected from the group of students who had learning deficiency in writing for communication. The research instruments were (1) learning management plans for the instruction using the mind mapping method, and (2) a writing for communication ability test. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and sign test. Research findings showed that the post-learning writing for communication ability of the second year students in the Vocational Certificate Program of Ban Lat Industrial and Community Education College in Phetchaburi province, who learned from the instruction using the mind mapping method, was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License