Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปรเมษฐ์ ศรีประเทศ, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-17T08:46:49Z-
dc.date.available2023-07-17T08:46:49Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7898-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อบทบาทการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการป้องกันปัญหายาเสพติด กรณีศึกษาตำบลสองแพรก อำเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) เปรียบเทียบระดับความรู้ความเข้าใจและความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการป้องกันปัญหา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกับตามลักษณะของบทบาทการมีส่วนร่วม ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาในการป้องกันยาเสพติด ด้านการมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการป้องกันยาเสพติด ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการป้องกันยาเสพติด ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์จากการป้องกันปัญหายาเสพติด และด้านการติดตามและประเมินผลการป้องกันยาเสพติด และ (3) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันปัญหายาเสพติดของประชาชน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ประชาชนในพื้นที่ตำบลสองแพรก อำเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 341 คน โดยคัดเลือกประชากรที่มีอัตราเสี่ยงในการเข้าไป เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในพื้นที่ตำบลสองแพรก อำเภอชัยบุรี ที่มีอายุตั้งแต่ 20-60 ปี จาก 9 หมู่บ้าน ตามตารางสำเร็จรูป ของ R.V. Krejcie & D.W. Morgan และเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 31-40 ปี สถานภาพสมรสแล้ว มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ประกอบอาชีพเกษตรกร/รับจ้าง มีรายได้ 10,001 บาทขึ้นไป โดยอาศัยอยู่ในท้องถิ่น 15 ปี ขึ้นไป ผลการศึกษาพบว่า (1) บทบาทการมีส่วนรวมของประชาชนในการป้องกันปัญหายาเสพติด ด้านการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาการป้องกันยาเสพติด ด้านการมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการป้องกันยาเสพติด ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมเพื่อการป้องกันยาเสพติด ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์จาก การป้องกันปัญหายาเสพติด และด้านการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลการป้องกันยาเสพติดในการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยภาพรวมของการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก (2) การเปรียบเทียบระดับความรู้ ความเข้าใจ และความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการป้องกันปัญหา กรณีศึกษา ตำบลสองแพรก อำเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน ได้ผลการทดสอบเป็นไปตามสมมติฐานทั้ง 7 ประการ และ (3) ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะพบว่า ควรส่งเสริมการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานป้องกันยาเสพติดในชุมชนให้หน่วยงานอื่นทราบ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมไปสู่กิจกรรมที่ซ้ำซ้อนมากขึ้นเพื่อตอบสนองต่อการป้องกันยาเสพติดในระดับประเทศ และมีส่วนร่วมในการติดตามผลการดำเนินการป้องกันยาเสพติดในชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectยาเสพติด--การป้องกันและควบคุม--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleบทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันปัญหายาเสพติด กรณีศึกษา ตำบลสองแพรก อำเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฏร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeThe roles of people' s participation in narcotic prevention: a case study of Songphraek sub-district, Chaiburi district, Suratthani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to: (1) explore the roles of people’s participation in narcotic prevention of a case study of Songphraek Sub-district, Chaiburi District, Suratthani Province; (2) compare the level of cognition and opinions of people towards narcotics prevention of a case study of Songphraek Sub-district, Chaiburi District, Suratthani Province by classifying the roles of people into 5 functions: the analysis of narcotic prevention, the determination to formulate guidelines for narcotic prevention, the implementation of narcotic prevention activities, the obtained benefits of narcotic prevention and the monitoring and assessment of narcotic prevention; and (3) study the opinions and suggestions for narcotics problem preventing development at Songphraek Sub-district, Chaiburi District, Suratthani Province. This study was conducted by means of a survey research. The population was approximately 3,579 persons who lived at Songphraek Sub-district, Chaiburi District, Suratthani Province. The samples selected from potential and risk targets to drug addiction which age ranging between 20-60 years old, consisted of 341 respondents from 9 villages with the application with table of R.V.Krejcie & D.W.Morgan by purposive sampling method. The instrument used was questionnaire. Thereafter the data analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test and F-test. The personal factors of majority of respondents were male, age between 31-40 years old, married, fundamental elementary education background, agriculture/ labor career, salary over 10,001 baht and over 15 years of habitat. The result revealed that (1) the role of people participation in narcotic prevention of a case study of Songphraek Sub-district, Chaiburi District, Suratthani Province involving 5 roles: the analysis of narcotic prevention, the determination to formulate guidelines for narcotic prevention, the implementation of narcotic prevention activities, the obtained benefits of narcotic prevention and the monitoring and assessment of narcotic prevention. The average level of people participation was accepted at high level; (2) the comparisons between the cognition and opinions of people to narcotics prevention at Songphraek Sub-district, Chaiburi District, Suratthani Province and personal factors including gender, age, marriage status, qualification, occupation, salary and duration of habitat were confirmatory data analysis to 7 hypothesis testing; and (3) the summary according to opinions and suggestions obtained were the authorized organization should publicize the implementation on drug control in communities to other organizations, promote the participation from simple to complicated activities in order to respond to the drug control and prevention at national level and also in monitoring preventive activities in their communityen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_138048.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons