Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์th_TH
dc.contributor.authorรัตติยา จินตุลา, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T00:23:07Z-
dc.date.available2023-07-18T00:23:07Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7903en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับทัศนคติขององค์กรที่มีต่อการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 มาใช้ ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านคุณภาพสินค้า/บริการ, ด้านขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติงาน และด้านความพึงพอใจของลูกค้าทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กร 2) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 มาใช้ในองค์กร ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000, การสื่อสารภาย ในองค์กร, การสนับสนุนจากผู้บริหาร และการมีส่วนร่วมของพนักงาน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจกับพนักงานในองค์กรที่ได้รับการับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 เฉพาะสถานประกอบการในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก ซึ่งเป็นพนักงานที่มีความรับผิดชอบปฏิบัติงานอยู่ในขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 จำนวน 393 คน มีการตรวจสอบความตรงโดยผู้ทรงคุณวุฒิได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 และค่าความเที่ยงของเนื้อหาเท่ากับ .9457 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-Test และ Pearson’s Correlation Coefficients ผลการวิจัยพบว่า 1) ทัศนคติขององค์กรที่มีต่อการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 โดยภาพรวม อยู่ในระดับสูง 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 มาใช้ในองค์กร ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000, การสื่อสารภายในองค์กร, การสนับสนุนจากผู้บริหาร และการมีส่วนร่วมของพนักงาน มีความสัมพันธ์กับระดับทัศนคติที่มีต่อการนำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 มาใช้ในองค์กร ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ในเชิงบวกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.241en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรม--ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000th_TH
dc.titleทัศนคติขององค์กรที่นำระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 มาใช้ : กรณีศึกษาสถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมเขตพื้นที่ภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeAttitude of ISO 9000 cerfified companies on the implementation of the ISO 9000 quality system : a case study of Eastern Region industrial Estate in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.241-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.241en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research's objectives were 1) To study the attitude levels of ISO 9000 certified companies on the implementation of the ISO 9000 quality system concerning quality of products/services, procedure implementation and satisfaction of internal and external customers. 2) To study factors of attitude levels on the implementation of the ISO 9000 quality system such as knowledge of ISO 9000. organization communication, administrative support and employee participation. Data collection, via a questionnaire survey, was conducted with 393 employees of ISO 9000 certified companies on Eastern Region industrial estates. Accuracy was examined by experts, and the reliability level was at .91 and the content validity was at .9457. Statistics used in data analysis included, percentages, arithmetic means, standard deviations, t-values, and Pearson's Correlation Coefficients. Research results revealed that 1) Most attitudes of ISO 9000 certified companies were at a high level. 2) Knowledge of ISO 9000. organization communication, administrative support and employee participation had a positive relationship with the implementation of the ISO 9000 quality system.en_US
dc.contributor.coadvisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศth_TH
dc.contributor.coadvisorวินัย รังสินันท์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
82824.pdfเอกสารฉบับเต็ม991.17 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons