Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7950
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | วราภรณ์ ม่วงเล็ก, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-18T07:19:52Z | - |
dc.date.available | 2023-07-18T07:19:52Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7950 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน บริษัทโลตัสฮอลวิศวกรรมเหมืองแร่และก่อสร้างจํากัดและ (2) เปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน บริษัทโลตัสฮอลวิศวกรรมเหมืองแร่และก่อสร้างจํากัด โดยจำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพ อายุงาน ระดับการศึกษารายได้ต่อเดือน ระดับตำแหน่งงาน และฝ่ายที่ปฏิบัติงาน งานวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสํารวจกลุ่มตัวอย่างท ี่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานของบริษัท โลตัสฮอล วิศวกรรมเหมืองแร่และก่อสร้างจํากัด สาขาพิจิตร จํานวน 224 คน จากจำนวนประชากรทั้งสิ้น 506 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการทดสอบค่าความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานส่วนใหญ่มีแรงจูงใจในการทำงานอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าพนักงานมีแรงจูงใจในการทำงานในด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติมากที่สุด ส่วนในด้านความสำเร็จของงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความก้าวหน้าในงาน ด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในหน่วยงาน ด้านความมั่นคงในการทำงาน ด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ มีแรงจูงใจในการทำงานอยู่ในระดับมาก (2) จากการเปรียบเทียบลักษณะส่วนบุคคลเมื่อจำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพ อายงานุ ระดับ การศึกษารายได้ต่อเดือน ระดับตำแหน่งงาน ฝ่ายที่ปฏิบัติงาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีระดับแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานที่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | บริษัทโลตัสฮอลวิศวกรรมเหมืองแร่และก่อสร้าง--พนักงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.title | แรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทโลตัสฮอลวิศวกรรมเหมืองแร่และก่อสร้าง จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Performance motivation of employees in Lotushall Mining Heavy Engineering Construction Company Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study about working motivation’s levels of Lotushall Mining Heavy Engineering Construction Company Limited employees; and(2) to compare working motivation level of Lotushall Mining Heavy Engineering Construction Company Limited employees classified by sex, age, marital status, working period, education level, monthly income, position rank and department. This study was a survey research. The samples consisted of 224 out of 506 employees of Lotushall Mining Heavy Engineering Construction Company Limited by stratified random sampling were stratified. The study tool was a questionnaire and statistics were percentage, means, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance. The results of study were found that: (1) most of the employees had high level of working motivation. Once considering by the type of motivation, the highest motivated type was Job, for the success of work, recognition, responsibility, position progress, policies & administration, colleague’s relationship, work's stability, work environment, remuneration and welfare were motivated at the high level; and (2) form comparison of personalities classified by sex, age, marital status, working period, education level, monthly income, position rank and department were found that different characteristics had differed working motivation of the employees. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128642.pdf | 10.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License