Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิเชียร เลิศโภคนนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอดิศักดิ์ เพ็ญจันทร์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T07:22:06Z-
dc.date.available2023-07-18T07:22:06Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7951-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงสภาพทั่วไปของการผลิต ตลาด และการส่ง ออกเนื้อไก่ของประเทศไทย (2) ศึกษาผลกระทบของการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าของสหภาพยุโรป ที่มีต่อ การส่งออกเนื้อไก่ของประเทศไทย (3) เสนอแนวทางและมาตรการในการพัฒนาตลาดการส่งออกเนื้อไก่ของไทย กลุ่มประชากรที่ทำการศึกษา คือ โรงฆ่าและชำแหละเนื้อไก่ของบริษัทฯที่ส่งออกเนื้อไก่ไป สหภาพยุโรป ซึ่งมีทั้งหมด 21 โรงงาน จาก 19 บริษัท เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การใช้แบบสอบถาม และเก็บ รวบรวมข้อมูลปฐมภมิ โดยการสัมภาษณ์ข้อเท็จจริง และเก็บข้อมูลทุติยภูมิเพื่อให้งานวิจัยครั้งนี้สมบูรณ์มากยิ่ง ขึ้น สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติ เชิงพรรณนา โดยการหาค่าสถิติขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความถี่ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประเภทของมาตรการกีดกันทางการค้าที่สหภาพยุโรปนำออกมาใช้ แล้วมีผลกระทบต่อการส่งออกไก่สดแช่แข็ง ของบริษัทผู้ส่งออกเนื้อไก่ ของประเทศไทยเรียงลำดับจากมากไปหา น้อย คือ มาตรฐานด้านสุขอนามัย รองลงมา คือ มาตรการทางด้านภาษีอากร มาตรการสวัสดิภาพสัตว์ การ บริหารโควตาภาษี การเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ และการปิดฉลากเนื้อสัตว์จากฟาร์ม ตามลำดับ (2) ในช่วงปี 2544-2545 ปริมาณการส่งออกไก่สดแช่แข็งไปยังกลุ่มสหภาพยุโรปของประเทศไทย มีอัตราลดลง ร้อยละ 19.57 มลูค่าการส่งออกมีอัตราลดลงเฉลี่ย ร้อยละ 21.51 ราคาไก่เนื้อเฉลี่ยปี 2545 มีราคาที่ต่ำกว่าราคาไก่เนื้อเฉลี่ยตั้ง แต่ปี 2540-2545 ทั้งนี้เพราะประเทศไทยประสบปัญหาจากการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าของสหภาพยุโรป โดยเฉพาะมาตรการทางด้านมาตรฐานด้านสุขอนามัย แต่สำหรับปริมาณการผลิตไก่เนื้อของประเทศไทยตั้งแต่ ปี 2540-2545 บริษัทผู้ส่งออกเนื้อไก่มีการเพิ่มปริมาณการเลี้ยงไก่เนื้ออย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าบริษัทผู้ส่งออกเนื้อ ไก่จะโดนกีดกันทางการค้าจากสหภาพยุโรปด้วยมาตรฐานด้านสุขอนามัย (3) ข้อเสนอแนะ รัฐควรร่วมมือกับเอกชนเพื่อแสวงหาตลาดใหม่ๆ เร่งปรับปรุงมาตรฐานการผลิตเพิ่มศักยภาพการส่งออก ด้วยการศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบสินค้า เพื่อให้สามารถส่งออกได้เพิ่มขึ้น โดยเน้นพัฒนาสินค้าเนื้อไก่ให้เป็นสินค้าแปรรูปมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.156en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเนื้อไก่ -- การส่งออกth_TH
dc.subjectการกีดกันทางการค้าth_TH
dc.titleผลกระทบของการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าของสหภาพยุโรปที่มีต่อการส่งออกเนื้อไก่ของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeEffects of European Union's trade barrier measures on Thailand 's chicken meat exportingth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the general state of Thailand ‘s chicken meat producing, marketing and exporting. (2) to study the effects of European Union ‘s trade barrier measures on Thailand ‘s chicken meat exporting. (3) to submit the measures by developing Thailand ‘s chicken meat exporting. The population were the twenty-one slaughterhouse of chicken from nineteen companies who export to European Union. Self-administered questionnaires were used as data collection instruments. Descriptive statistics used to analyze data the percentage, mean and frequency. The results of these analyses showed that (1) the higher rank of European Union ‘s trade barrier measures that effect to frozen chicken exporting is, Sanitary and Phyto-sanitary Measures : SPS and follow by Tariff Measure, Animal Welfare, Tariff Rate Quotas : TRQs, Additional Levy and European Organic Logo respectively (2) In 2001-2002 the frozen chicken export volume to European Union reduce 19.57%. Export amount reduces 21.51%. In 2002, the chicken price was lower than the average price in 1997-2002 because of the trade barrier measures, Sanitary and Phyto-sanitary Measures : SPS. In 1997-2002 the amount of chicken production was increased. (3) The recommendation : government should have cooperation with private business to find the new market and improve standard of production, quality of exportation by doing research and developing product’s form in order to increase amount of productionen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83802.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons