Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7958
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จำเนียร ราชแพทยาคม | th_TH |
dc.contributor.author | กนกรัตน์ ท่าหลวง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-18T07:56:47Z | - |
dc.date.available | 2023-07-18T07:56:47Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7958 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการพัฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตร (2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตร (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตร และ (4) ปัญหาและเสนอแนวทางการพัฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรของกรมวิชาการเกษตรส่วนกลาง ณ กรุงเทพมหานคร จำนวน 690 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 253 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิแบ่งสัดส่วน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการพัฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตรในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยด้านการใช้เทคโนโลยีและการส่งบุคลากรไปศึกษาอบรมภายนอกมีความเกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตรในระดับมากที่สุด ในขณะที่ปัจจัยภายในองค์การมีความเกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตร ในระดับมาก (3) ปัจจัยภายนอกองค์การมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับมากกับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และ (4) ปัญหาที่สำคัญ คือ บุคลากรได้รับโอกาสในการพัฒนาไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้น ผู้บริหารควรกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรเชิงกลยุทธ์ที่มุ่งเน้นเรื่องการจัดการความรู้การทำงานเป็นทีมและการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ และส่งเสริมให้บุคลากรไปศึกษาอบรมที่จัดโดยภายในหน่วยงานและหน่วยงานภายนอกหน่วยงาน นอกจากนี้ มีปัญหาการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ผู้บริหารควรมีนโยบายในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล รวมทั้งจัดทำระบบประเมินผลของการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กรมวิชาการเกษตร--การพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากร กรมวิชาการเกษตร | th_TH |
dc.title.alternative | Factors relating the achievement of human resource development of the Department of Agriculture | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study were to study (1) level of human resource development of the Department of Agriculture (2) factors relating the achievement of human resource development of the Department of Agriculture (3) the relationship between various factors and the achievement of human resource development of the Department of Agriculture, and (4) problems and recommendations for human resource development of the Department of Agriculture. This independent study was a survey study. The population was 690 personnel of the Department of Agriculture in Bangkok. The samples were 253 personnel which derived from formula of Taro Yamane with stratified sampling. Analytical statistics employed frequency, percentage, mean and standard deviation and Pearson's Product Moment Correlation Coefficient. The result showed that (1) level of human development of the Department of Agriculture was at high level. (2) external factors regarding technology and sending personnel to attend training outside related with the achievement of human development of the Department of Agriculture at the highest level, whereas, internal factors related at high level (3) the external factors were high positively correlated with the achievement of human development of the Department of Agriculture at statistically significance at 0.01 level, and (4) crucial problems encountered were found that everyone receives unequal opportunities for development, therefore head of organization should have strategic policies focusing on knowledge management, teamwork, learning organization building and supporting in attending the training both within and outside the department. Another problem was the application of technology, administrators should have a policy on the use of information technology for data collection, processing, including establishing a systematic human resource evaluation system. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
162197.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License