Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/795
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | คนึงนิตย์ พงษ์สุวรรณ์, 2506- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T03:50:27Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T03:50:27Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/795 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การคงอยู่ในงาน และปัจจัยด้านองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครราชสีมาและ (2) อำนาจในกำรทำนายของอายุและปัจจัยด้านองค์การต่อการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 192 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอยำงหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) ปัจจัยการคงอยู่ในงาน 6 ด้าน ได้แก่ คุณลักษณะขององค์การและการจัดการ สัมพันธภาพในการทำงาน งานและชีวิตการทำงาน ผลของการปฏิบัติงาน ค่าตอบแทนและผลประโยชน์กำรพัฒนำและฝึกอบรม และนโยบายและการบริหารของผู้นำองค์การและ (3) การคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ แบบสอบถามได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของแบบสอบถามส่วนที่ 2–3 เท่ากับ 0.96 และ 1 ตามลำดับ และวิเคราะห์ความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.85 และ 0.81 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) การคงอยู่ในงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และปัจจัยด้านองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ (2) ปัจจัยการคงอยู่ในงาน 2 ด้าน ได้แก่ งานและชีวิตการทำงาน และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแปรปรวนการคงอยู่ในงานได้ร้อยละ 34.2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = 0.342, p< .05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.116 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ--ไทย--นครราชสีมา | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--ไทย--นครราชสีมา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยทำนายการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Factors predicting intention to stay of professional nurses in Community Hospitals, Nakhno Ratchasima Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2016.116 | - |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to examine the professional nurses’ intention to stay and organizational factors affecting intention to stay of professional nurses in community hospitals, Nakhon Ratchasima province, and (2) to investigate predictive power of age and organizational factors affecting in intention to stay of professional nurses. The total of 192 professional nurses who had been worked at community hospitals throughout Nakhon Ratchasima province was selected by multi-stage sampling. The research instruments consisted of three parts: (1) demographic data, (2) factors affecting intention to stay, and (3) intention to stay of professional nurses. All questionnaires were examined for content validity by five experts. The content validity indexes of part 2-3 were 0.96 and 1 respectively. Cronbach’s alpha reliability coefficients of part 2-3 were 0.85 and 0.81 respectively. Data were analyzed by using frequency, mean, percentage, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The major findings were as follow. (1) Professional nurses rated their overall intention to stay and organizational factors at the moderate level, and they rated factors affecting intention to stay at the moderate level. Finally, (2) only “jobs and work-life” and and age were able to predict intention to stay of professional nurses and both predictors accounted for 34.2 % (R2 = 0.342, p < .05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext 155197.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License