Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7971
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสน่ห์ หล่ำศรี, 2508-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-18T08:57:44Z-
dc.date.available2023-07-18T08:57:44Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7971-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของ พนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดกำแพงเพชร และ (2) เปรียบเทียบระดับ แรงจูงใจในการทำงานของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดกำแพงเพชร โดยจำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อายุการทำงานในธนาคาร ตำแหน่งปัจจุบัน และรายได้ต่อเดือน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 124 คน จาก จำนวนพนักงานทั้งหมด 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ทดสอบค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยจูงใจในการทำงานของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร จังหวัดกำแพงเพชร มีระดับการจูงใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยที่มีระดับ การจูงใจสูงที่สุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมาคือด้านลักษณะของงานและด้านการยอมรับนับถือ (ค่าเฉลี่ยเท่ากัน) ด้านความสำเร็จของงานและด้านความก้าวหน้าตามลำดับปัจจัยค้ำจุนมีระดับการจูงใจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยที่มีระดับการจูงใจสูงที่สุดคือ ด้านการควบคุมการนิเทศ และด้านความสัมพันธ์ภายในหน่วยงาน (ค่าเฉลี่ยเท่ากัน) รองลงมาคือด้านเงินเดือน ด้านนโยบายและการบริหาร และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน (ค่าเฉลี่ยเท่ากัน) ตามลำดับ และ (2) พนักงานที่มีเพศ ระดับ การศึกษาต่างกัน และรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีระดับการจูงใจของปัจจัยจูงใจทุกด้านไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีอายุ สถานภาพ อายุการทำงานในธนาคาร และตำแหน่งปัจจุบันต่างกัน มีระดับการจูงใจ ของปัจจัยจูงใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และพนักงานที่มีเพศ สถานภาพต่างกัน มีระดับการจูงใจของปัจจัยค้ำจุนทุกด้านไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีอายุ ระดับการศึกษา อายุการทำงาน ในธนาคาร ตำแหน่งปัจจุบัน รายได้ต่อเดือนต่างกัน มีระดับการจูงใจของปัจจัยค้ำจุนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดกำแพงเพชรth_TH
dc.title.alternativeWork motivation of employees of Agricultural Cooperatives in Kampangphet Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) study work motivation of employees in Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives in Kampangphet Province Branch; and 2) compare work motivation of employees in Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives in Kampangphet Province Branch by sex, age, marital status, education level, number of working year, current position and monthly income. Population in this study comprised 124 out of 180 employees working in Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives in Kampangphet. Statistical tool employed was a questionnaire. The statistics used were percentage, mean, standard deviation, T-test, and one-way analysis of variance. The result revealed that: (1) overall work motivation factors of employees in the Bank was at the high level. Then, the highest work motivation factors was responsibilities, then the job description factors, and the trust factors (the same mean), the goal factors, and the position progress factors, respectively. Overall maintenance factors or hygiene factors were at the high level. The highest was mass media control factors, and the organizational relation factors (the same mean), then the salary, the policy and administration, and work environment factors (the same mean), respectively; and 2) the motivation factors of the employees with different gender, education, and the salary had no different work motivation. The employees with different age, marital status, number of working year, and current had different work motivation at statistically significant level of 0.05. The employees with different gender and marital status had no different level of motivation of maintenance factors. The employees with different age, education, number of working year, current position, and salary had different level of motivation factors at 0.05 level of significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128264.pdf12.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons