Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7991
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาณินี กิจพ่อค้า | th_TH |
dc.contributor.author | อนันต์ ขาวจัตุรัส, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-20T02:46:35Z | - |
dc.date.available | 2023-07-20T02:46:35Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7991 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “การกำกับดูแลการจัดหางบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบล” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎี หลักกฎหมาย และปัญหาการกำกับดูแลการจัดหางบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบล อำนาจของนายอำเภอและผู้ว่าราชการจังหวัดในการอนุมัติงบประมาณ ตลอดจนเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาการกำกับดูแลการจัดหางบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบล การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยทางเอกสาร จากพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง คำวินิจฉัย ตำรา และเอกสารทางวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ในการพิจารณาอนุมัติงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบล หากนายอำเภอไม่แจ้งเป็นหนังสือหรือไม่ทำให้เป็นลายลักษณ์อักษรว่าอนุมัติหรือไม่อนุมัติงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบล สภาองค์การบริหารส่วนตำบลจะไม่มีโอกาสได้พิจารณาเพื่อมีมติยืนยันตามร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย เพื่อเสนอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา เมื่อสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม่มีโอกาสได้พิจารณาทบทวนร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายนั้นใหม่ ผู้ว่าราชการจังหวัดก็ไม่มีโอกาสได้พิจารณาร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเช่นเดียวกัน จึงควรกำหนดให้ในกรณีที่นายอำเภอไม่ส่งร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายคืนมาให้องค์การบริหารส่วนตำบล ภายใน 15 วัน ให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณาทบทวนใหม่หากสภาองค์การบริหารส่วนตำบลยืนยันตามร่างเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มีอยู่ ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลส่งร่างข้อบัญญัตินั้นให้แก่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อลงนามมีผลบังคับใช้ และให้แจ้งให้นายอำเภอทราบ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--งบประมาณ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การกำกับดูแลการจัดทำงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบล | th_TH |
dc.title.alternative | Overseeing the preparation of the Budget of the Tambon Administration Organization | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study on “Overseeing the Preparation of the Budget of Tambon Administration Organizations” aims to study legal theories and concepts on supervising the preparation of the budget of Tambon administration organizations and problems concerning power of the heads of districts and governors to approve the budget as well as the proposed solution to the problems. This independent study is qualitative analysis with documentary research by analyzing data acquiring from the Tambon Council and Tambon Administrative Organizations Act, B.E. 2537, and other related law, decisions, textbooks and academic documents. The results of this study are that, in some cases on approving the draft budget provisions of Tambon administration organizations, heads of districts do not notify in writing that he or she has approved or disapproved the budget of the Tambon administration organizations. In those cases, Tambon administration organizations have no opportunity to consider a resolution to confirm the draft budget provisions and submit to the governors for consideration. This should be solved that if heads of districts does not send the budget back to Tambon administration organizations within 15 days, the Council of Tambon administration organizations shall have power to reconsider the draft budget provisions. If Councils of Tambon administration organizations has confirmed it by a vote of not less than two third of the members present, the Presidents of the Councils shall submit the draft budget provisions to the Chief Executives of Tambon administration organizations to be signed into effect and then notify the heads of districts of this matters. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License